Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78867
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTeeraporn Saeheaw-
dc.contributor.authorShen, Youjuanen_US
dc.date.accessioned2023-09-14T01:18:47Z-
dc.date.available2023-09-14T01:18:47Z-
dc.date.issued2023-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78867-
dc.description.abstractAsia is the largest producing and consuming region for poultry meat, accounting for 45 percent of global poultry meat production and 40 percent of consumption. However, small and medium-sized geese farmers in China lack of scientific knowledge in geese management cause low geese survival rate. To improve geese farmers’ scientific knowledge in geese management, research objectives are i) To identify critical situations of the geese management process in the Hunei geese farm; ii) To reduce mortality of geese raising rate in the baby stage, improve the quality of geese feathers, and the quality of geese' internal organs.; and iii) To compare the knowledge and learning level of farmers before and after applying the proposed solution. Regarding this, Virtual CoPs is proposed as a solution. Knowledge workers are three geese farmers with middle size farm in southeast part of China, Fujian Province. Virtual CoPs is the integration of CoPs, Blooms’ taxonomy, and AAR. CoPs serve as the learning construction zone for three geese farmers to acquire, share, and grow their knowledge with the support of veterinarians for 4 months. During implementation Blooms’ taxonomy is applied to track geese farmers’ cognitive learning levels. Finally, AAR is used to reflect an effectiveness of the proposed solution. The results show that - The mortality rate falls in normal standard, which are 0%, for Farm A and Farm B, 3.33% for Farm C. - Geese weight on Farm A and B fall into large range, which are 7.9-8.9kg, 8.1-9.0kg, respectively, while Farm C falls to medium categorization, which is 7.4-8.8kg. - The feather maturity level of all farm reaches matured level. - The bad internal organ geese rate of all farm is 0%. These results certify that the proposed solution “Virtual CoPs” have effectiveness to improve the quality of geese product.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleCoPs based double spiral model to promote geese farmers’ scientific knowledge in geese managementen_US
dc.title.alternativeชุมชนนักปฏิบัติตามแบบจำลองเกลียวคู่เพื่อส่งเสริมความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของเกษตรกรผู้เลี้ยงห่านen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshGeese -- Feeding and feeds-
thailis.controlvocab.lcshCommunities of practice-
thailis.controlvocab.lcshFarm management -- China-
thailis.controlvocab.lcshCommunities of practice -- China-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเอเชียเป็นภูมิภาคที่ผลิตและบริโภคเนื้อสัตว์ปีกที่ใหญ่ที่สุด โดยคิดเป็นร้อยละ 45 ของการผลิตเนื้อสัตว์ปีกทั่วโลก และร้อยละ 40 ของการบริโภค อย่างไรก็ตาม เกษตรกรผู้เลี้ยงห่านที่มีฟาร์มขนาดเล็กและขนาดกลางในจีนขาดความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการจัดการห่าน ทำให้อัตราการรอดของห่านต่ำเพื่อพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของเกษตรกรผู้เลี้ยงห่านในการจัดการห่าน วัตถุประสงค์ของการวิจัย มีดังนี้ 1. เพื่อระบุสถานการณ์วิกฤตของกระบวนการจัดการห่านในฟาร์มห่านฮูเน่ย 2. เพื่อลดอัตราการตายของลูกห่านในระยะแรกเกิด ปรับปรุงการคุณภาพขนห่าน และคุณภาพของอวัยวะภายในของห่าน และ 3. เพื่อเปรียบเทียบความรู้ และระดับการเรียนรู้ของเกษตรกรเลี้ยงห่านก่อน และหลังจากใช้โมเดลแก้ไขปัญหาที่นำเสนอ ในการนี้ “ชุมชนนักปฏิบัติเสมือนจริง” ถูกเสนอเป็นวิธีแก้ปัญหา ผู้ปฏิบัติงาน คือ เกษตรผู้เลี้ยงห่าน 3 คน ที่มีฟาร์มขนาดกลางทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน มณฑลฝูเจี้ยน ชุมชนนักปฏิบัติเสมือนจริงเป็นการบูรณาการหลักการชุมชนนักปฏิบัติ ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bloom และการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน ชุมชนนักปฏิบัติทำหน้าที่สร้างพื้นที่ความรู้สำหรับเกษตรผู้เลี้ยงห่าน 3 คนเพื่อแสวงหา แบ่งปัน และเพิ่มพูนความรู้โดยมีสัตวแพทย์คอยสนับสนุนเป็นเวลา 4 เดือน ในระหว่างการดำเนินการ ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bloom ถูกนำไปใช้ติดตามระดับการเรียนรู้ทางปัญญาของเกษตรกรผู้เลี้ยงห่าน สุดท้ายการทบทวนหลังการปฏิบัติงานใช้สำหรับสะท้อนประสิทธิภาพของแนวทางแก้ไขที่นำเสนอ ผลปรากฏว่า - อัตราการตายอยู่ในมาตรฐานปกติ คือ 0% สำหรับฟาร์ม A และฟาร์ม B และ 3.33% สำหรับฟาร์ม C - น้ำหนักห่านฟาร์ม A และ B อยู่ในช่วงขนาดใหญ่ ซึ่งอยู่ที่ 7.9-8.9 กก. และ 8.1-9.0 กก. ตามลำดับ ในขณะที่ฟาร์ม C อยู่ที่ขนาดปานกลาง ซึ่งอยู่ที่ 7.4-8.8 กก. - ระดับความสมบูรณ์ของขนของฟาร์มทั้งหมดอยู่ที่ระดับสูง - อัตราอวัยวะภายในของห่านเน่าของฟาร์มทั้งหมด เป็น 0% ผลลัพธ์เหล่านี้ เป็นการยืนยันว่าแนวทางแก้ไขปัญหาที่เสนอ “ชุมชนนักปฏิบัติเสมือนจริง” มีประสิทธิภาพในการปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ห่านen_US
Appears in Collections:CAMT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Youjuan Shen 642132015.pdf5.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.