Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78854
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Piyaluk Buddhawongsa | - |
dc.contributor.advisor | Roengchai Tansuchat | - |
dc.contributor.advisor | Supanika Luecharusmee | - |
dc.contributor.author | Paweekorn Tothai | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-13T00:49:00Z | - |
dc.date.available | 2023-09-13T00:49:00Z | - |
dc.date.issued | 2023-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78854 | - |
dc.description.abstract | This study investigates the factors influencing saving behavior among adolescents in Chiang Rai, Thailand. The results reveal that present preferences have a negative effect on both the probability and the amount of savings. Academic achievement (GPA), personal income, and household income are crucial in determining saving likelihood and the amounts. While risk and ambiguity attitudes do not significantly impact adolescents' saving behavior. While risk-averse attitudes decrease the likelihood of saving, they do not affect the actual amount saved. Ambiguity-averse attitudes have no influence on saving behavior. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Time Preference, Risk Attitude,Ambiguity Attitude,Saving Behavior,Teenagers | en_US |
dc.title | Time preference and saving behavior in teenagers | en_US |
dc.title.alternative | การเลือกเวลาใช้จ่ายและพฤติกรรมการออมในวัยรุ่น | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Saving and investment -- Chiang Rai | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Teenagers -- Chiang Rai | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออมเงินของวัยรุ่นในจังหวัดเชียงราย จากการศึกษาพบว่า ผู้เข้าร่วมการวิจัยส่วนใหญ่มีความพอใจต่อการใช้จ่ายในปัจจุบันมากกว่าที่จะออมเงินเพื่ออนาคต โดย การให้ความสำคัญกับปัจจุบันมากกว่าอนาคต ส่งผลกระทบทางลบต่อการตัดสินใจออมเงิน และจำนวนเงินออม ในขณะที่ ทัศนคติต่อความเสี่ยงและความไม่แน่นอนในการตัดสินใจไม่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อพฤติกรรมการออมเงินของวัยรุ่น จากการศึกษาพบว่าผู้ที่กลัวความเสี่ยงมีแนวโน้มที่จะไม่ออมเงิน ในขณะที่การไม่ชอบความไม่แน่นอน ไม่มีผลต่อพฤติกรรมการออมเงินของวัยรุ่น นอกจากนี้ยังพบว่ามีปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมบางประการที่มีผลต่อพฤติกรรมการออม ได้แก่ ความสำเร็จทางการศึกษา (เกรดเฉลี่ยสะสม) รายได้ส่วนบุคคล และรายได้ครัวเรือนเป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดความน่าจะเป็นในการออมเงินและจำนวนเงินที่ออมได้ | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601635952-PAWEEKORN TOTHAI.pdf | 4.28 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.