Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78796
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อติชาต หาญชาญชัย | - |
dc.contributor.author | สิรินาถ เจตะบุตร | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-09T05:42:08Z | - |
dc.date.available | 2023-09-09T05:42:08Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78796 | - |
dc.description.abstract | The construction procurement projects of The Princes Royal’s College School have been delayed due to inaccurate information and the lack of systematic work processes among the staff members. This has impacted the approval timelines for project requests, procurement activities, and construction, which have not been carried out according to the designated plans. The problem-solving approach utilized in this research involves the application of principles and theories, including business process management, ISO 30401 knowledge management system standards, and document management systems. The research aims to: 1) examine the current status and issues related to the construction and renovation projects of The Princes Royal College’s School in Chiang Mai Province, and 2) design and develop a knowledge management system for construction and renovation projects, targeting the management executives, team leaders, and operational staff involved in the procurement and construction processes. The researcher employed interview and open-ended questionnaire techniques to gather data, allowing respondents to freely provide information. The data was then analyzed using keyword extraction methods to categorize the identified issues. Deep interviews were conducted to explore the problems and their impacts, utilizing risk assessment techniques to identify high-risk processes that require corrective actions. Subsequently, the research designed a new process flowchart and work procedures using turtle diagrams to provide an overview of the workflow and swim lane diagrams to illustrate detailed process steps. ISO 30401 knowledge management system standards were used as a framework to guide the development of work processes, standard operating procedures, and document management systems for improvement purposes. Furthermore, a monitoring and evaluation questionnaire was utilized to assess the effectiveness of the knowledge management system. The study findings revealed two main problem areas: the lack of knowledge and understanding among staff members regarding work procedures and the disorganized data collection process. High-risk processes identified included project development and renovation (high-risk), construction procurement (high-risk), and data management (moderate risk). Additionally, the evaluation of the knowledge management system's efficiency indicated that the staff members possess the necessary knowledge and understanding to effectively utilize the system in various work processes, achieving an overall efficiency rating of 95.31% for all process steps. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ระบบการจัดการความรู้งานจัดจ้างก่อสร้างและปรับปรุงอาคารโดยใช้ ISO 30401 | en_US |
dc.title.alternative | Knowledge management system for construction procurement unit using ISO 30401 | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | ไอเอสโอ | - |
thailis.controlvocab.thash | ISO 30401 | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารองค์ความรู้ | - |
thailis.controlvocab.thash | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การดำเนินงานจัดจ้างก่อสร้างและปรับปรุงอาคารของ โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย มีความล่าช้าเนื่องจากข้อมูลที่ผิดพลาด และกระบวนการทำงานที่ไม่เป็นระบบของผู้ปฏิบัติงาน ส่งผลกระทบต่อระยะเวลาในการขออนุมัติโครงการ การดำเนินการจัดจ้าง และการก่อสร้างไม่เป็นไปตามที่กำหนด แนวทางการแก้ปัญหาใช้การบูรณาการหลักการและทฤษฎี ประกอบด้วย การจัดการกระบวนการทางธุรกิจ ข้อกำหนดมาตรฐานระบบการจัดการความรู้ ISO 30401 และระบบการจัดการเอกสาร โดยมีวัตถุประสงค์ของงานวิจัย คือ 1) ศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินงานจัดจ้างก่อสร้างและปรับปรุงอาคาร โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 2) ออกแบบและพัฒนาระบบการจัดการความรู้งานจัดจ้างก่อสร้างและปรับปรุงอาคารฯ กลุ่มเป้าหมายในงานวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร หัวหน้างาน และผู้ปฏิบัติงานในงานจัดจ้างก่อสร้างและปรับปรุงอาคาร วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยใช้แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถามปลายเปิด เพื่อให้ผู้ตอบสามารถให้ข้อมูลได้อย่างอิสระ และนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการสกัดคำสำคัญเพื่อจัดกลุ่มของปัญหา จากนั้น ทำการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนได้ส่วนเสียถึงปัญหาและผลกระทบโดยใช้วิธีการประเมินความเสี่ยง เพื่อระบุว่ากระบวนการใดที่มีความเสี่ยงสูงที่ต้องดำเนินการแก้ไข จากนั้น ทำการออกแบบผังกระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงานใหม่ โดยใช้แผนภาพเต่าแสดงภาพรวมของขั้นตอนการทำงาน และแผนภาพกระบวนการ Swim Lane แสดงรายละเอียดขั้นตอนการทำงาน การออกแบบและพัฒนาระบบการจัดการความรู้ ผู้วิจัยใช้ข้อกำหนดมาตรฐานคุณภาพด้านระบบการจัดการความรู้ ISO 30401 เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนากระบวนการทำงาน ระเบียบวิธีปฏิบัติงาน การจัดการเอกสารใช้ระบบการจัดการเอกสารเป็นเครื่องมือในการพัฒนา และใช้แบบตรวจติดตามประเมินผลในการตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบการจัดการความรู้ ผลการศึกษา พบว่า ประเด็นของปัญหา ได้แก่ ปัญหาที่เกิดจากผู้ปฏิบัติงานขาดความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการปฏิบัติงาน และปัญหาที่เกิดจากการจัดเก็บข้อมูลที่ไม่เป็นระบบ กระบวนการทำงานที่มีความเสี่ยงประกอบด้วย การจัดทำโครงการก่อสร้างและปรับปรุงอาคาร (ความเสี่ยงสูงมาก) การจัดจ้างก่อสร้างและปรับปรุงอาคาร (ความเสี่ยงสูง) และการจัดเก็บข้อมูล (ความเสี่ยงปานกลาง) นอกจากนั้น ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบการจัดการความรู้ พบว่า ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการทำงาน สามารถนำระบบไปใช้ในการปฏิบัติงานตามขั้นตอนต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คิดเป็นร้อยละ 95.31 ของขั้นตอนการทำงานทั้งหมด | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
642132019 สิรินาถ เจตะบุตร.pdf | 65.25 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.