Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78794
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWeerapan Aunmeungthong-
dc.contributor.advisorPathawee Khongkhunthian-
dc.contributor.advisorPisaisit Chaijareenont-
dc.contributor.authorBowornpath Chairattanangkulen_US
dc.date.accessioned2023-09-09T05:17:29Z-
dc.date.available2023-09-09T05:17:29Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78794-
dc.description.abstractIntroduction: Ceramic reinforced polyetheretherketone is one of the high-performance tooth-colored materials which is used in many prosthodontic aspects. As a substructure on titanium base implant abutments, there are few studies have focused on its physical properties. This study aimed to evaluate and compare the physical strength between CAD/CAM polyetheretherketone (PEEK), ceramic reinforced polyetheretherketone (CR-PEEK), and zirconia on titanium base abutments after static breaking test. Materials and Methods: Fifteen custom abutment substructure on titanium base abutment were divided equally into three groups: PEEK, CR-PEEK, and zirconia. All specimens were fabricated identically in dimension and created under manufacturers’ protocol. Static load was applied to the specimens at 30° ± 2° angle until failure. The testing protocol was designed according to ISO 14801. The data was recorded as the maximum deformation load (MDL), ultimate load (UL) and maximum breaking load (MBL) which defined on the load-displacement curve. The data value between groups was statistically analyzed using parametric analysis. Result: The mean MDL, UL, and MBL numbers of CR-PEEK group were 669.84 ± 79.08 N, 808.76 ± 121.20 N, and 655.14 ± 70.85 N, PEEK group were 633.48 ± 136.61 N, 819.63 ± 126.48 N, and 673.35 ± 48.37 N and zirconia group were 728.84 ± 207.26 N, 888.86 ± 329.21 N, and 725.84 ± 122.39 N respectively. There was no significant difference between all the MDL, UL, MBL values in any material types. Conclusion: Based on this in vitro study, the static breaking test of ceramic reinforced polyetheretherketone substructure on titanium base abutments were not significantly different from other tooth-color materials.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe physical strength of ceramic reinforced polyetheretherketone on titanium base implant abutment compared to polyetheretherketone and zirconiaen_US
dc.title.alternativeความแข็งแรงเชิงกายภาพของวัสดุพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตนที่เสริมความแข็งแรงด้วยเซรามิกบนฐานหลักยึดรากเทียมไททาเนียม เปรียบเทียบกับวัสดุพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตนและเซอร์โคเนียen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.lcshPolyetheretherketone-
thailis.controlvocab.lcshCeramics-
thailis.controlvocab.lcshTitanium-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์: เพื่อประเมินและเปรียบเทียบความแข็งแรงเชิงกายภาพของวัสดุพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตนที่เสริมความแข็งแรงด้วยเซรามิก กับวัสดุพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตน และ วัสดุเซอร์โคเนีย บนฐานหลักยึดรากเทียมไททาเนียม เมื่อได้รับแรงกระทำแบบสถิตย์ วัสดุและวิธีการ: หลักยึดรากเทียมเฉพาะบุคคลบนรากเทียมไทเทเนียม 15 ชิ้น แบ่งเป็น 3 กลุ่มตัวอย่าง จำนวนเท่าๆกัน จำแนกตามวัสดุที่ใช้ ได้แก่ วัสดุพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตน วัสดุพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตนที่เสริมความแข็งแรงด้วยเซรามิก และ วัสดุเซอร์โคเนีย การออกแบบและกลึงขึ้นรูปด้วยคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีแคด/แคม (CAD/CAM) ภายใต้คำแนะนำของบริษัทผู้ผลิต ให้ได้มิติของชิ้นงานขนาดเท่ากันทุกชิ้น จากนั้นตั้งค่าการทดสอบชิ้นงานภายใต้การได้รับแรงกระทำแบบสถิต โดยทำมุมเอียง 30° ± 2° กับแนวแรง ภายใต้ข้อกำหนดการทดสอบมาตรฐาน ISO 14801 ข้อมูลจะถูกบันทึกเป็นเส้นโค้งความสัมพันธ์ระหว่างแรงที่ได้รับกับระยะที่เปลี่ยนตำแหน่ง (Load-displacement curve) และนิยามค่าของแรงบนเส้นโค้งนี้ 3 ค่า ได้แก่ แรงกระทำสูงสุดที่วัสดุทนได้ก่อนเกิดการเปลี่ยนรูปอย่างถาวร [Maximum deformation load (MDL)] แรงกระทำสูงสุดที่วัสดุทนได้ [Ultimate load (UL)] และแรงกระทำสูงสุดที่วัสดุทนได้ก่อนเกิดการแตกหัก [Maximum breaking load (MBL)] ข้อมูลทั้งหมดจะถูกวิเคราะห์และเปรียบเทียบความแตกต่างทางสถิติแบบพาราเมตริก ผลการศึกษา: กลุ่มทดสอบวัสดุพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตนที่เสริมความแข็งแรงด้วยเซรามิก มีค่าเฉลี่ยแรงกระทำสูงสุดที่วัสดุทนได้ก่อนเกิดการเปลี่ยนรูปอย่างถาวร อยู่ที่ 669.84 ± 79.08 นิวตัน ค่าเฉลี่ยแรงกระทำสูงสุดที่วัสดุทนได้ อยู่ที่ 808.76 ± 121.20 นิวตัน ค่าเฉลี่ยแรงกระทำสูงสุดที่วัสดุทนได้ก่อนเกิดการแตกหัก อยู่ที่ 655.14 ± 70.85 นิวตัน กลุ่มทดสอบวัสดุพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตน มีค่าเฉลี่ย 633.48 ± 136.61 นิวตัน, 819.63 ± 126.48 นิวตัน และ 673.35 ± 48.37 N และกลุ่มทดสอบวัสดุเซอร์โคเนีย 728.84 ± 207.26 นิวตัน, 888.86 ± 329.21 นิวตัน และ 725.84 ± 122.39 นิวตัน ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบแล้ว ข้อมูลทั้งหมดไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างกลุ่มทดสอบทุกกลุ่ม สรุปผลการศึกษา: ด้วยข้อจำกัดในการศึกษาพบว่า ความแข็งแรงเชิงกายภาพของวัสดุพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตนที่เสริมความแข็งแรงด้วยเซรามิก บนฐานหลักยึดรากเทียมไททาเนียม เมื่อได้รับแรงกระทำแบบสถิตย์ ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตน และ เซอร์โคเนียen_US
Appears in Collections:DENT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610931019 Bowornpath Chairattanangkul.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.