Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78783
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชลาธิป วสุวัต-
dc.contributor.authorกวิศา โพคาวัฒนะen_US
dc.date.accessioned2023-09-08T01:27:03Z-
dc.date.available2023-09-08T01:27:03Z-
dc.date.issued2566-06-28-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78783-
dc.description.abstractThis research titled “The Relationship Between Human and Nature in Thai Television Dramas of Chalong Pakdeevijit aims (1) to analyze the relationship between human beings and nature in Thai television dramas directed by Chalong Pakdeevijit and (2) to analyze the meanings of ecological symbolism in Thai television dramas directed by Chalong Pakdeevijit. The study covers two series of the television drama Angkor, i.e., Angkor (2000) and Angkor (2005) and three television dramas including Lek Lai (2006), Sao 5 (2009) and Sao 5: The Siamese Ruby Episode (2011). The relationship between human beings and nature was analyzed through ecocriticism and ecofeminism. As for the analysis of ecological symbolism, Ferdinand de Saussure’s Semiotics was used as the theoretical framework. The study’s results are as follows: the relationship between human and nature is divided into three aspects, including anthropocentrism, ecocentrism, and nature vs. gender. As for anthropocentrism, all the television dramas studied reflect human beings’ belief that nature offers various resources for them to use. Therefore, the relationship between human beings and nature is seen as a binary opposition: Human vs. Nature. On the contrary, in the ecocentrism aspect, all the television dramas under study reveal that human beings are an integral part of nature. In this holistic view, every single entity on the earth is intricately interconnected. Every creature is essential and interdependent. As for the relationship between nature and gender, men and women are different when they have to interact with or stay close to nature. As for the meanings of ecological symbolism, it is found that symbols and their meaning are used in the context of human beings’ beliefs and their attempts to make value out of those beliefs which have been orally passed on from generations to the next. These timeless beliefs, which can also be transmitted from one’s experience to others, can make human beings scared of or feel great awe for certain ecological symbols, or even desire to possess them.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติในละครโทรทัศน์ไทยของฉลอง ภักดีวิจิตรen_US
dc.title.alternativeThe relationship between human and nature in Thai television dramas of Chalong Pakdeevijiten_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddcnatural and human-
thailis.controlvocab.thashมนุษย์-
thailis.controlvocab.thashธรรมชาติ-
thailis.controlvocab.thashละครโทรทัศน์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยเรื่องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติในละครโทรทัศน์ของฉลอง ภักดีวิจิตร มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ 1) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติในละครโทรทัศน์ที่กำกับโดยฉลอง ภักดีวิจิตร และ 2) เพื่อวิเคราะห์สัญญะเชิงนิเวศในละครโทรทัศน์ที่กำกับโดยฉลอง ภักดีวิจิตร โดยศึกษาทั้งหมด สองภาคของละครโทรทัศน์เรื่อง อังกอร์ คือ อังกอร์ (2543) และ อังกอร์ (2548) และ ละครโทรทัศน์สามเรื่อง คือ เหล็กไหล (2549) เสาร์ ๕ (2552) และ เสาร์ ๕ ตอนทับทิมสยาม (2554) โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์เชิงนิเวศ และทฤษฎีสตรีนิยมเชิงนิเวศ เป็นเครื่องมือในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ ส่วนกรอบทฤษฎีสำหรับใช้ศึกษาสัญญะเชิงนิเวศนั้นเป็นของเฟอร์ดินันด์ เดอ โซซูร์ ผลการศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติแบ่งออกเป็น 3 หัวข้อ คือ ความสัมพันธ์ที่มนุษย์เป็นศูนย์กลาง ความสัมพันธ์ที่ธรรมชาติเป็นศูนย์กลาง และธรรมชาติกับเพศภาวะ สำหรับความสัมพันธ์แบบมนุษย์เป็นศูนย์กลางนั้น ละครโทรทัศน์ทั้งหมดสะท้อนให้เห็นว่ามนุษย์เชื่อว่าธรรมชาติมีทรัพยากรนานาชนิดไว้เพื่อให้มนุษย์ได้ใช้ ความสัมพันธ์ของมนุษย์และธรรมชาติจึงถูกเป็นแบ่งคู่ขั้วตรงข้ามระหว่างธรรมชาติกับมนุษย์ ในขณะที่ความสัมพันธ์ที่ธรรมชาติเป็นศูนย์กลางนั้นละครโทรทัศน์สะท้อนให้เห็นว่ามนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ มีลักษณะแบบองค์รวม ไม่แบ่งแยก ทุกสรรพสิ่งในโลกมีเครือข่ายโยงใยกันอย่างสลับซ้อน ทุกชีวิตมีความสำคัญ และต้องพึ่งพากัน ส่วนด้านความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติกับเพศภาวะ ผู้ชายและผู้หญิงมีความแตกต่างกันเมื่อต้องมีปฏิสัมพันธ์หรือมีความใกล้ชิดกับธรรมชาติ สำหรับความหมายของสัญญะเชิงนิเวศ พบว่า สัญญะกับการสื่อความหมายนำมาใช้ในบริบทของความเชื่อกับความพยายามสร้างคุณค่าของความเชื่อเหล่านั้น เมื่อมนุษย์ได้รับความเชื่อสืบต่อกันมาจากการบอกเล่าหรือจากประสบการณ์ยิ่งทำให้ความเชื่อนั้นทำงานอยู่ตลอด อาจก่อให้เกิดความเกรงกลัวต่อสัญญะแห่งความเชื่อนั้น รวมไปถึงการครอบครองสัญญะดังกล่าวเพื่อให้ตนเป็นเจ้าของen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590131016-กวิศา โพคาวัฒนะ.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.