Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78769
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWoraphon Yamaka-
dc.contributor.advisorParavee Maneejuk-
dc.contributor.authorYangheling, Lien_US
dc.date.accessioned2023-09-03T07:21:30Z-
dc.date.available2023-09-03T07:21:30Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78769-
dc.description.abstractIt is well known in the academic literature that correlations between oil price and exchange rate. There is a stable long-run relationship between oil prices and the real effective exchange rate (Amano and VanNorden, 1998). A rise in the oil price can lead to either an appreciation or a depreciation of the exchange rate (Benassy-Quere et al. 2007). However, most studies have focused on the impact of oil prices on exchange rates without considering the movements between oil prices and exchange rates. This study aims to investigate the dependence and structural change between real oil prices and the real effective exchange rate of oil-dependent countries and is the first to apply the regime-switching base on R vine copula approach between real oil price and real exchange rate. This study chooses the sample for oil-dependent countries, consisting of oil proven reserves, oil production, oil consumption, and oil imports, each group has 5 countries and a total have 11 countries. This study uses monthly data from 2007-2020. The results show oil return has a negative relationship with the exchange rates returns of most countries in the oil proven reserves group, oil consumption group, and oil imports group. For the production group, oil return has a positive relationship with all exchange rates returns except Saudi Arabia. We also found that under the Markov-switching model, the probability of oil and exchange rates in abnormal states is higher than the probability of normal states.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleInvestigating a structural change and dependence between oil price and exchange rate in oil dependent countriesen_US
dc.title.alternativeการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการพึ่งพาระหว่างราคาน้ำมันและอัตราแลกเปลี่ยนในประเทศที่พึ่งพาน้ำมันen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshForeign exchange rates-
thailis.controlvocab.lcshPetroleum -- Prices-
thailis.controlvocab.lcshConsumption (Economics)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีว่าได้มีการค้นพบถึงสหสัมพันธ์ระหว่างราคาน้ำมันและ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ หนึ่งใบงานศึกษาของ Amano and VanNorden (1998) Wบ ว่าราคาน้ำมันและอัตราแลกเปลี่ยนที่แท้จริงมีความสัมพันธ์ที่คงในระยะยาวระหว่างกัน และราคา น้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้นสามารถนั้นสามารถก่อให้เกิดการแข็งค่หรืออ่อนคำในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ระหว่างประเทศได้ (Benassy-Quere et al. 2007) แต่ทว่าหลายงานศึกษาที่ผ่านมาสนใจเพียงผล กระทบของราคาน้ำมันต่ออัตราแลกเปลี่ยนโดยไม่"ด้พิจารณาถึงการเคลื่อนไหวระหว่างราคาน้ำมัน และอัตราแลกเปลี่ยน จะนั้นในงานวิจัชนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความขึ้นอยู่แก่กันและการเปลี่ยน แปลงโครงสร้งระหว่างราคาน้ำมันและอัดราแลกเปลี่ยนที่แท้จริงในประเทศที่ พึ่งพาน้ำมันเป็นหลัก โดชการประชุกด์ใช้การสับเปลี่ยนระบอบร่วมกับคอปูลาแบบอาร์ไวน์ (R vine copula) ระหว่างราคา น้ำมันกับอัตราแลกเปลี่ยน การศึกษานี้ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่างจากประเทศที่พึ่งพาน้ำมัน และแบ่ง กลุ่มตาม ปริมาณสำรองน้ำมัน ปริมาณการผลิดน้ำมัน ปริมาณการบริโภคน้ำมันและปริมาณการนำเข้า น้ำมัน โดขแต่ละกลุ่มประกอบด้วย 5 ประเทศ รวมทั้งหมด 11 ประเทศ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็น ข้อมูลรายเดือน โดขเริ่มตั้งแต่ปี 2007-2020 ผลการศึกษาพบว่าอัตราผลตอบแทนของน้ำมันมีความ สัมพันธ์เชิงลบต่ออัตราผลตอบแทนของอัตราแลกเปลี่ยนในกลุ่มประเทศที่แบ่งตามปริมาณสำรอง น้ำมัน กลุ่มประเทศบริ โภคน้ำมันและกลุ่มประเทศนำเข้าน้ำมัน สำหรับกลุ่มประเทศที่ผลิตน้ำมันนั้น อัตราผลตอบแทนของน้ำมันมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่ออัตราผลตอบแทนของอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ตราของประเทศทั้งหมดยกเว้นประเทศชาอุดิอาระเบีย นอกจากนี้ยังพบว่าภายใด้แบบจำลองการสับ เปลี่ยนแบบมาร์คอฟ น้ำมันและอัตราแลกเปลี่ยนมีความน่าจะเป็นของที่จะอยู่ในสถานะที่ไม่ปกตินั้น สูงกว่าความน่าจะเป็นที่จะอยู่ในสถานะปกติen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621635805 YANGHELING LI.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.