Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78762
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Sulawan Kaowphong | - |
dc.contributor.author | Tawanwit Luangwanta | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-30T10:44:18Z | - |
dc.date.available | 2023-08-30T10:44:18Z | - |
dc.date.issued | 2022-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78762 | - |
dc.description.abstract | Semiconductor-mediated photocatalysis is a promising solution for wastewater remediation. Bismuth-rich oxybromide with a chemical formula of Bi4O5Br2 has been reported as a good candidate for organic pollutant degradation and transformation of inorganic species under visible light irradiation. However, the photocatalytic efficiency of Bi4O5Br2 is still limited by high recombination rate of photogenerated electron-hole pairs due to its narrow band gap (2.56 eV). Fabrication of a semiconductor-semiconductor heterojunction is a promising route to resolve this limitation. In this research, the visible light-driven photocatalytic activity of the Bi4O5Br2 photocatalyst was enhanced by combining with FeVO4 to form FeVO4/Bi4O5Br2 heterojunction. Herein, the Bi4O5Br2 and FeVO4 were separately synthesized by cyclic microwave irradiation method. Physiochemical and optical properties of the synthesized photocatalysts were characterized by X-ray diffraction (XRD), field emission scanning electron microscopy (FESEM), transmission electron microscopy (TEM), and UV-vis diffuse reflectance spectroscopy (UV-vis DRS). Effect of FeVO4 contents in the FeVO4/Bi4O5Br2 composites was 1% by weight which 95% of hexavalent chromium (Cr6t), 98% of rhodamine B (RhB), 90% of bisphenol A (BPA), and 88% of tetracycline (TC) were removed under visible light irradiation. The FeVO4/Bi4O5Br2 composite was effective in the reuse, and exhibited good stability after four times of usage. Charge transfer mechanism during the photocatalytic process was proposed based on the reactive species trapping experiments, along with the consideration of the reduction potentials of reactive oxygen species and band potential of the FeVO4/Bi4O5Br2 heterojunction. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Facile synthesis and improvement of photocatalytic efficiency of FeVO4/Bi4O5Br2 Heterojunction | en_US |
dc.title.alternative | การสังเคราะห์อย่างง่ายและการปรับปรุงประสิทธิภาพการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงของ FeVO4 /Bi4O5Br2 ชนิดรอยต่อเฮเทอโร | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Chemistry | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Sewage disposal | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Bismuth | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงโดยใช้สารกึ่งตัวนำเป็นวิธีหนึ่งในการแก้ปัญหาสำหรับการกำจัด มลพิษในน้ำเสีย สารกึ่งตัวนำในกลุ่มบิสมัทออกซี โบรไมค์ที่อุดมด้วยบิสมัทที่มีสูตรเคมีเป็น Bi405Br2 จัดได้ว่าเป็นสารกึ่งตัวนำที่สามารถย่อยสลายสารอินทรีย์และเปลี่ยนสถานะออกซิเดชัน ของไอออนอนินทรีย์ภายใต้แสงวิซิเบิลได้ อย่างไรก็ตาม ประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงของ Bi405Br2 ยังคงถูกจำกัดเนื่องจากอัตราการรวมตัวกันใหม่ของคู่อิเล็กตรอน-โฮลที่เร็วและช่องว่างระ ว่างแถบพลังงานที่แคบ (2.56 eV) อังนั้นจึงได้มีการพัฒนาสารกึ่งตัวนำชนิครอยต่อเฮเทอโรเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงของ Bi405Br2 ซึ่งในงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการเพิ่ม ประสิทธิภาพการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงของ Bi405Br2 ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นด้วยวิธีแผ่รังสีไมโครเวฟแบบ รอบและและสร้างรอยต่อเฮเทอโร FeVO4/Bi4O5Br2 ด้วยวิธีเคลือบฝังแบบเปียก สมบัติทางกายภาพ เคมีและสมบัติทางแสงของตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงถูกวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสี เอกซ์ (XRD) กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่งกราด (FESEM) กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ ส่องผ่าน (TEM) และการสะท้อนแสงกระจายของแสงยูวี-วิซิเบิล (UV-vis DRS) จากการศึกษาผล ของปริมาณโดยน้ำหนัก FeVO, ที่แตกต่างกันในวัสดุคอมโพสิต FeVO 4/Bi405Br2 พบว่า ปริมาณที่ เหมาะสมของ FeVO4 คือ 1% โดยน้ำหนัก ซึ่งสามารถรีดิวซ์สารละลายเฮกซะ วาเลนต์โครเมียม ไอออน (Cr6+) ได้ 95% และสามารถย่อยสลายสารอินทรีย์ ได้แก่ สารละลายสีย้อมโรดามีนบี (RhB) สารละลายบิสฟีนอลเอ (BPA) และสารละลายเตตระไซคลีน (TC) ได้ 98%90% และ 88% ตามลำคับ ภายใต้การฉายแสงวิซิเบิล นอกจากนี้ วัสดุคอมโพสิต FevO4/Bi405Br2 ยังมีประสิทธิภาพ ในการนำกลับมาใช้ใหม่และแสดงเสถียรภาพที่ดีหลังการ ทดสอบประสิทธิภาพการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาซ้ำสี่ครั้ง กลไกการถ่ายโอนประจุในกระบวนการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงได้ถูกเสนอขึ้นบน พื้นฐานของการตรวจจับอนุพันธ์ที่ว่องไว และการพิจารณาศักย์รีดักชันของอนุพันธ์ของออกซิเจนที่ ว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา และการหาตำแหน่งของแถบพลังงานของวัสดุ | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620531035 ตะวันวิษทร์ เหลืองวันทา.pdf | 4.75 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.