Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78757
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกรุณา รักษวิณ-
dc.contributor.authorอังค์วรา พัวพันธ์รักษกุลen_US
dc.date.accessioned2023-08-30T00:51:31Z-
dc.date.available2023-08-30T00:51:31Z-
dc.date.issued2023-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78757-
dc.description.abstractThis research study examines the design guidelines for the facades of row buildings by studying the characteristics of the area and the regulations set by the Ministry of Interior for the comprehensive urban community plan of Chiang Kham - Sop Bong - Ban Sai, Phayao Province, in 2019. The designated area is conservation land for residential purposes with controlled physical characteristics of the buildings. The research aims to study the design guidelines, including analyzing relevant laws that can be applied to the area and determining prototype buildings that align with local architectural styles or Thai architecture. The proposed initial design direction suggests a method of analyzing the data of buildings by determining the number of those in the area that can capture the external features of the buildings. It also involves dividing the building forms to analyze the physical characteristics according to the specified regulations. Another part of the proposal is to suggest guidelines for designing the front facade of the building by referring to prototype buildings that align with local or Thai architectural styles, based on the study of historical content in the area with interconnected cultural beliefs. This study is done by applying the theory of tracing and separating the components according to the level of perception of the prototype building, in conjunction with the conservation area for residential purposes in Chiang Kham city through overlaying testing. The study results of legal analysis related to conservation land for residential purposes found that Chiang Mai has cultural similarities with Chiang Kham. The experimental results in determining suitable buildings revealed that the prototype model could capture the local architectural patterns, based on the prototype building design. There are still issues to consider regarding future design suitability.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์รูปด้านหน้าตึกแถวในเขตเมืองเก่าเชียงใหม่ เพื่อเป็นแนวทางการออกแบบตึกแถวในเขตอนุรักษ์ เพื่อการอยู่อาศัยเมืองเชียงคำ จังหวัดพะเยาen_US
dc.title.alternativeThe Analysis of row building’ facades in the Chiang Mai old city for the design guidelines of row building in the residential conservation area of Chiang Kham City, Phayao Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashตึกแถว -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashตึกแถว -- พะเยา-
thailis.controlvocab.thashตึกแถว -- การออกแบบและการสร้าง-
thailis.controlvocab.thashสถาปัตยกรรม -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashสถาปัตยกรรม -- พะเยา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแนวทางการออกแบบรูปด้านหน้าตึกแถว โดยการศึกษาลักษณะของพื้นที่และข้อกำหนด กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเชียงคำ - สบบง - บ้านทราย จังหวัดพะเยา พ.ศ.2562 ซึ่งได้มีการกำหนดเขตพื้นที่ เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อการอยู่อาศัยที่มีการควบคุมลักษณะทางกายภาพของอาคาร วัตถุประสงค์การศึกษาแนวทางการออกแบบของงานวิจัย ประกอบด้วยการศึกษาข้อมูลของกฎหมายที่เกี่ยวข้องที่สามารถประยุกต์ใช้กับพื้นที่ได้และการกำหนดอาคารต้นแบบที่สอดคล้องกับรูปแบบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น หรือสถาปัตยกรรมไทย การกำหนดแนวทางในการออกแบบส่วนแรกได้เสนอวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลของอาคารจากการหาจำนวนอาคารในเขตพื้นที่ที่สามารถเก็บภาพลักษณะภายนอกของอาคารได้อย่างชัดเจน และทำการแบ่งรูปแบบของอาคารเพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพตามข้อกำหนดที่กฎกระทรวงระบุไว้ อีกส่วนหนึ่งเป็นการเสนอแนวทางการกำหนดรูปด้านหน้าอาคารโดยทำการอ้างอิงจากอาคารต้นแบบที่สอดคล้องกับรูปแบบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นหรือสถาปัตยกรรมไทย จากการศึกษาเนื้อหาประวัติศาสตร์พื้นที่ที่มีความเชื่อมโยงกันของวัฒนธรรมร่วมกับแนวคิดทฤษฎีการแกะรอยนำไปสู่การแยกองค์ประกอบตามระดับการรับรู้ของรูปด้านหน้าอาคารต้นแบบกับอาคารในขตพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการอยู่อาศัยเมืองเชียงคำโดยการทดลอทำการซ้อนทับ ผลการศึกษาการวิเคราะห์กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อการอยู่อาศัยพบว่า เมืองเชียงใหม่มีแอ่งวัฒนธรรมที่ใกล้เคียงกับเมืองเชียงคำ และผลการทดลองกำหนดอาคารต้นแบบจากความเหมาะสมพบว่าแบบจำลองสามารถรับรู้ถึงรูปแบบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น โดยอ้างอิงจากรูปแบบของอาคารต้นแบบซึ่งยังมีประเด็นที่ต้องคำนึงถึงความหมาะสมด้านการออกแบบต่อไปen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641731009_Aungwara Poupuntarugsagul.pdf641731009 อังค์วรา พัวพันธ์รักษกุล7.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.