Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78714
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pathairat Pastpipatkul | - |
dc.contributor.author | Chutikan Khumchui | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-26T08:26:29Z | - |
dc.date.available | 2023-08-26T08:26:29Z | - |
dc.date.issued | 2023-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78714 | - |
dc.description.abstract | This study investigated the relationship between financial development and economic growth in selected ASEAN countries by using Bayesian regression model. In this work focuses on annually data of selected ASEAN countries covering the period 2010-2019. Furthermore, the study separated independent variables into three group of variables consisting of financial institution, financial market, and financial system development. In each group of variables represent their own characteristics to explain the effect of financial development. Firstly, financial institution, which consists of domestic credit to private sector, commercial bank branches (per 100,000 adults), Automated teller machines (ATMs) (per 100,000 adults) and interest rate spread, presents the impact of institution in financial sector. Secondary, financial market, that consists of stocks traded, market capitalization of listed domestic companies and stocks turnover ratio, represents the effect of money market and capital market. Thirdly, financial system development, which consists of credit card, debit card, and e-money, is the contribution of this study. These variables focus on the cashless payment transaction to identify the financial system development. The results of this study separated in to two parts. First part is the consequence of individual countries. This part selects the best model and independent variables for explaining real GDP then, the selected models and variables were estimated by Bayesian regression model. The result of first part shows that almost variables in each group are positive relationship on real GDP. Second part is the result of selected ASEAN countries as a group. This part focuses on the result as group of countries so, in this section used panel data to estimate. The variables most appropriate to describe real GDP were financial market variables. Based on the results, this study offers useful information for policymakers to promote the improvement of financial especially in the national financial planning in the future. Moreover, the contribution of this study provides a direction to future study about cashless payment in selected ASEAN countries. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Financial development and economic growth in selected ASEAN countries | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนาทางการเงินและการเติบโตทางเศรษฐกิจในกรณีศึกษาของกลุ่มประเทศอาเซียน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | ASEAN | - |
thailis.controlvocab.thash | Finance | - |
thailis.controlvocab.thash | Economic development | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาทางด้านการเงิน และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในกลุ่มอาเซียนที่ถูกเลือก โดยใช้แบบจำลอง Bayesian regression ในการศึกษาหาความสัมพันธ์ ในการศึกษาให้ความสนใจข้อมูลแบบรายปีของกลุ่มประเทศอาเซียนที่ถูกเลือกตั้งแต่ปี 2553-2564 นอกจากนี้การศึกษาในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้แบ่งตัวแปรอิสระออกเป็น 3 กลุ่ม ซึ่งประกอบด้วย ตัวแปรสถาบันการเงิน ตัวแปรตลาดการเงิน และตัวแปรระบบการพัฒนาทางด้านการเงิน ลำดับแรกตัวแปรในแต่ละกลุ่มมีลักษณะเฉพาะตัวที่ใช้ในการอธิบายการพัฒนาทางการเงิน กลุ่มแรกตัวแปรสถาบันการเงินที่นำเสนอผลกระทบของสถาบันในภาคการเงิน ประกอบด้วย สินเชื่อในประเทศต่อภาคเอกชน สาขาธนาคารพาณิชย์ (ต่อผู้ใหญ่ 100,000 คน) เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) (ต่อผู้ใหญ่ 100,000 คน) และส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย ลำดับที่สองตัวแปรตลาดการเงินแสดงถึงผลกระทบของตลาดเงินและตลาดทุน ประกอบด้วยการซื้อขายหุ้น มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดของบริษัทจดทะเบียนในประเทศ และอัตราส่วนการหมุนเวียนของหุ้น ลำดับที่สามตัวแปรระบบการพัฒนาทางด้านการเงินเป็นcontribution ของการศึกษานี้ ประกอบด้วยบัตรเครดิต บัตรเดบิต และเงินอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งตัวแปรในกลุ่มนี้มุ่งเน้นไปที่การทำธุรกรรมการชำระเงินแบบไม่ใช้เงินสดเพื่อระบุการพัฒนาของระบบการเงิน ผลการศึกษาของวิทยานิพนธ์นี้ได้แบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรก คือผลการศึกษาแยกเป็นประเทศในส่วนนี้ได้มีการเลือกแบบจำลอง และกลุ่มตัวแปรที่ใช่ในการอธิบายการเจริญเติบโตทาเศรษฐกิจได้ดีที่สุด หลังจากได้แบบจำลอง และกลุ่มตัวแปรที่เหมาะสมจะนำแบบจำลอง และกลุ่มตัวแปรมาประมาณค่าโดยแบบจำลอง Bayesian regression. ผลการศึกษาในส่วนแรกแสดงให้เห็นว่าตัวแปรอิสระในแต่ละกลุ่มส่วนมาก ส่งผลกระทบในทางบวกต่อ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ในส่วนที่สองแสดงผลการศึกษาของประเทศอาเซียนที่ถูกเลือกผ่านมุมมองแบบกลุ่ม ในส่วนนี้จะให้ความสนใจผลการศึกษาแบบกลุ่มดั้งนั้นจึงใช้ข้อมูลพาแนลในการประมาณค่า ผลการศึกษาในส่วนนี้ระบุว่าตัวแปลที่ส่งกระทบต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในแบบกลุ่มคือ ตัวแปรตลาดการเงิน อ้างอิงจากผลการทดสอบในการศึกษานี้ได้เสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำหรับผู้กำหนดนโยบายเพื่อส่งเสริมการปรับปรุงด้านการเงินโดยเฉพาะในการวางแผนการเงินของประเทศในอนาคต ยิ่งไปกว่านั้น ผลงานของการศึกษานี้ยังเป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับการชำระเงินแบบไร้เงินสดในประเทศอาเซียนที่เลือกในอนาคต | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611635914-Chutikan Khumchui.pdf | 11.36 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.