Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78707
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAhmad Yahya Dawod-
dc.contributor.authorWan, Guochaoen_US
dc.date.accessioned2023-08-26T06:15:41Z-
dc.date.available2023-08-26T06:15:41Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.issn--
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78707-
dc.description.abstractThe relationship between Environmental, Social, and Governance (ESG) ratings and information efficiency in capital markets is a topic of discussion, especially with China's carbon peak and carbon neutrality goals and its capital market opening. After defining information efficiency as Northbound Capital Shareholding Preferences (NCSP), stock mispricing, and stock price crash risk, this study examines the impact of ESG ratings on information efficiency for Chinese listed companies by establishing variables of information asymmetry, Technical Achievement Index (TAI), and dynamic capabilities to investigate the mediating and moderated mediation effects. This study also investigates the impact of the COVID-19 pandemic, accounting conservatism, and property rights on information efficiency and ESG ratings for Chinese publicly traded companies. The study is the first to combine these factors into a framework to analyze how ESG ratings impact information efficiency in the Chinese capital market for listed companies. Entropy Weight Method (EWM) for calculating TAI, Minimum Bayes Factor (MBF) for robustness testing by using data from 2010 to 2021 as the study sample and drawing the appropriate findings. Results show that investors view ESG ratings favorably: 1) With higher ESG ratings being correlated with higher NCSP 2) The association between ESG ratings and information asymmetry is strengthened by TAI 3) Dynamic capabilities play a moderating role in the relationship between ESG ratings and information asymmetry 4) Higher ESG ratings are associated with lower levels of stock mispricing and a lower risk of a stock price crash 5) The influence of ESG ratings on the stock crash risk is moderated by information asymmetry. According to the extensible study, the nature of various property rights, the COVID-19 period, and accounting conservatism all have different implications. This study has implications for stakeholders, including publicly traded companies, governmental agencies, and investors. It also identifies trends in ESG rating research, including research on motivations and economic impact, ESG disclosures and ratings, and a refocusing of ESG rating research direction. These trends have important implications for understanding and improving ESG ratings, which are increasingly important for measuring the sustainability and social responsibility of organizations.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleImpact of ESG ratings on information efficiency in capital market for chinese-listed companiesen_US
dc.title.alternativeผลกระทบของการจัดอันดับสิ่งแวดล้อม สังคมและบรรษัทภิบาลบนประสิทธิภาพของข้อมูลในตลาดทุนสำหรับบริษัทจดทะเบียนในจีนen_US
dc.typeThesis-
thailis.classification.ddc--
thailis.controlvocab.lcshESG-
thailis.controlvocab.lcshCapital market-
thailis.controlvocab.lcshPublic companies -- China-
thailis.manuscript.source--
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractความสัมพันธ์ระหว่างการจัดอันดับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (อีเอสจี) และความมีประสิทธิภาพของข้อมูลในตลาดทุนเป็นหัวข้อที่น่าสนใจและควรค่าแก่การนำมาศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพูดถึงเป้าหมายการลดคาร์บอนและความเป็นกลางในการลงทุนในตลาดทุนของประเทศจีน หลังจากการกำหนดประสิทธิภาพของข้อมูลในนอร์ทบราวน์แคปปิตอล (เอ็นซีเอสพี) การคำนวณความคลาดเคลื่อนของราคาหุ้น และความเสี่ยงในการตกของราคาหุ้น การศึกษานี้จึงได้ทำการตรวจสอบผลกระทบของการจัดอันดับอีเอสจี ต่อความมีประสิทธิภาพของข้อมูลสำหรับบริษัทจดทะเบียนในจีนโดยกำหนดตัวแปรของความไม่สมมาตรของข้อมูล ดัชนีความสำเร็จทางเทคนิค (ทีเอไอ) และความสามารถเชิงพลวัตเพื่อศึกษาผลกระทบของการระบาดใหญ่ของโควิด-19 การเก็บรักษาบัญชี และสิทธิในทรัพย์สินต่อประสิทธิภาพของข้อมูลและการจัดอันดับอีเอสจี สำหรับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ของจีน งานวิจัยนี้เป็นครั้งแรกที่รวมปัจจัยเหล่านี้เข้าด้วยกันเพื่อวิเคราะห์ว่าการจัดอันดับอีเอสจี ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของข้อมูลในตลาดหลักทรัพย์ที่จดทะเบียนในประเทศจีนสำคัญอย่างไร การคำนวณทีเอไอ ด้วยวิธีการเอนโทรปีแบบถ่วงน้ำหนัก (อีดับเบิลยูเอ็ม) และการทดสอบความแข็งแกร่งด้วยปัจจัยเบย์ขั้นต่ำ (เอ็มบีเอฟ) โดยใช้ข้อมูลตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 ถึงปีค.ศ. 2021 เป็นตัวอย่างในการศึกษาและสรุปผลที่เหมาะสม ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า นักลงทุนเลือกลงทุนโดยมองจากจัดอันดับอีเอสจี ที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดี โดย 1) การจัดอันดับอีเอสจี ที่สูงขึ้นมีความสัมพันธ์กับเอ็นซีเอสพีที่ สูงขึ้น 2) ความสัมพันธ์ระหว่างการให้คะแนน อีเอสจี และความไม่สมดุลของข้อมูลถูกทำให้เชื่อมโยงโดยวัดได้จากค่าทีเอไอ 3) ความสามารถเชิงพลวัตมีบทบาทในการกลั่นกรองความสัมพันธ์ระหว่างการให้คะแนนอีเอสจี และความไม่สมมาตรของข้อมูล 4) การจัดอันดับอีเอสจี ที่สูงขึ้นนั้นสัมพันธ์กับระดับราคาหุ้นที่ผิดพลาดและความเสี่ยงที่ต่ำกว่าที่ราคาหุ้นจะตก และ 5) อิทธิพลของการให้คะแนนอีเอสจี ต่อความเสี่ยงของความพังพินาศของราคาหุ้นถูกควบคุมโดยความไม่สมมาตรของข้อมูล จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าลักษณะของทรัพย์สินต่างๆ ในช่วงเวลาโควิด-19 และการเก็บรักษาบัญชี ล้วนแล้วแต่มีผลต่อการจัดอันดับอีเอสจี การวิจัยนี้มีผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย รวมถึงบริษัทมหาชน หน่วยงานของรัฐ และนักลงทุน นอกจากนี้ยังระบุแนวโน้มในการวิจัยการจัดอันดับอีเอสจีรวมถึงการวิจัยเกี่ยวกับแรงจูงใจและผลกระทบทางเศรษฐกิจ การเปิดเผยข้อมูลและการจัดอันดับอีเอสจีและการมุ่งเน้นทิศทางการวิจัยการจัดอันดับอีเอสจีใหม่ โดยที่แนวโน้มเหล่านี้มีนัยสำคัญต่อการทำความเข้าใจและปรับปรุงการให้คะแนนอีเอสจีซึ่งมีความสำคัญมากขึ้นในการวัดความยั่งยืนและความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรen_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:ICDI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
632455805-Wan Guochao.pdf3.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.