Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78693
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWaraporn Nuntiyakul-
dc.contributor.authorYanee Tangjaien_US
dc.date.accessioned2023-08-23T11:44:50Z-
dc.date.available2023-08-23T11:44:50Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78693-
dc.description.abstractIce Top, the surface component of IceCube Neutrino Observatory at the South Pole, detects cosmic ray air showers with an array of Ice Cherenkov detectors called"IceTop Tanks."We examine data from an IceTop Tank contained in an insulated shipping con- tainer loaded on the Swedish Oden icebreaker, in November 2009, with the collaboration from the University of Delaware, UW River Falls, and Uppsala University. Oden tra- versed the Atlantic Ocean from Helsingborg, Sweden, to MeMurdo Station, Antarctica, and returned. In a latitude survey, a detector is carried through a wide range of geo- magnetic cutoffs. At each location on the surface of the Earth, the geomagnetic cutoff is the minimum rigidity (momentum per unit charge) that a particle needs to reach the top of the atmosphere from interplanetary space. The project aims to calibrate the Ice- Top 'Tanks to study cosmic rays in the GeV energy range using the Earth as a magnet spectrometer. Specifically we determine the Ice Cherenkov detector response functions during this survey year. Due to solar modulation changes during the trip, we separate the analysis into two intervals (southbound and northbound). The data are fitted using Dorman functions from which the response functions are calculated. Further analysis will allow the energy-dependent effective area (yield functions) of the tanks to be determined.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAnalysis of Ice Cherenkov detector response functions during a latitude surveyen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ฟังก์ชันการตอบสนองของเครื่องตรวจวัดเชเรนคอฟน้ำแข็งระหวางการสํารวจตัดข้ามละติจูดen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAstronomy-
thailis.controlvocab.lcshCosmic Rays-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractไอซ์ที่อป ส่วนประกอบ ของหอสังเกตการณ์นิวตริโนไอซ์คิวบ์ที่ขั้วโลกใต้ศึกษาชาวเวอร์ อากาสของรังสีคอสมิกด้วยอาร์เรย์ของเครื่องตรวจ วัดเชเรนกอฟน้ำแข็ง ที่เรียกว่า "ไอซ์ท็อปแท้งค์" เราใช้ข้อมูลจากไอซ์ท็อปแท้งค์ที่บรรจุอยู่ในตู้คอนเทนเนอร์หุ้มกนวนที่บรรทุกบนเรือตัดน้ำแข็งโอ เดน สัญชาติสวีเดน ใน เดือน พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 โดยได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยเคลาแวร์ มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน-ริเวอร์ฟอลส์ และมหวิทยาลัยอุปซอลา โอเดนเดินทางข้ามมหาสมุทรแอต- แลนติกจากเฮลซิงบอร์ก ประเทศสวีเดน ไปยังสถานี แมคเมอ โดในทวีปแอนตาร์กติกา และเดิน ทาง กลับ ในการสำรวจตัดข้ามละติจูด เครื่องตรวจวัดจะถูกดำเนินการผ่านค่าตัดของสนามแม่เหล็กที่หลาก หลาย แต่ละตำแหน่งบนพื้นผิวโลก ค่าตัดของสนามแม่เหล็กโลกเป็นความแข็งแกร่งขั้นต่ำ (โมเมนตัม ต่อหน่วยประจุ) ที่อนุภาคต้องไปถึงชั้นบรรยากาศด้านบนจากอวกาศระหว่างดาวเคราะห์ โครงการนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสอบเทียบไอซ์ท็อปแท้งค์สำหรับศึกษารังสีคอสมิกในช่วงพลังงานจิกะอิเล็กตรอน โวลต์ งานนี้รวมถึงการวิเคราะห์ ฟังก์ชันการตอบสนองของเครื่องตรวจวัดเชเรนกอฟน้ำแข็ง ในช่วงปี การสำรวจนี้ เนื่องจากการปรับสุริยะเปลี่ยนแปลงกะทันหันระหว่างการเดินทาง เราจึงแยกการวิเคราะห์ ออกเป็นสองช่วง (ทางใต้และทางเหนือ จากนั้นเราจึงหาฟังก์ชันการตอบสนองของเครื่องตรวจวัดนี้ กับค่าความ แข็งแกร่ง ข้อมูลถูกฟิตด้วยฟังก์ชันคอร์แมน และคำนวณเพื่อหาฟังก์ชันการตอบสนอง ดิฟเฟอเรนเชียล วิธีนี้จะช่วยให้สามารถหาพื้นที่ที่มีประสิทธิภาพซึ่งขึ้นอยู่กับพลังงาน (ฟังก็ชันยิวด์) โดยใช้โลกเป็นเครื่องวัดค่าแม่เหล็กen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620531072 ญานี ต่างใจ.pdf227.52 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.