Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78638
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Chaiwat Nimanussornkul | - |
dc.contributor.advisor | Pathairat Pastpipatkul | - |
dc.contributor.author | Chen, Liangpeng | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-15T00:45:41Z | - |
dc.date.available | 2023-08-15T00:45:41Z | - |
dc.date.issued | 2022-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78638 | - |
dc.description.abstract | China is the second largest economic power in the world. The dual structure of urban and rural areas restricts the fair and reasonable allocation of financial resources, resulting in the problem of excessive income gap and affecting China's social equity. Due to the widespread application of the Internet, digital financial inclusion has risen rapidly and has become an important factor affecting China economic development. Digital financial inclusion relies on technological innovation of inclusive financial products and services, and has advantages in reducing costs, expanding the scope of financial services, and effectively controlling risks. On the basis of theory and status quo, this paper selects data from 30 provinces in China, uses Theil index to measure the urban-rural income gap, and uses digital financial inclusion data from the Digital Finance Research Center of Peking University as explanatory variables. After the Housman test, random or fixed effect models are used to analyze the impact of digital financial inclusion on the urban-rural income gap, and to explore the impact of different dimensions and economic zones. The research results show that the development of digital financial inclusion in China can significantly reduce the income gap between urban and rural areas; the development effects of development digital financial inclusion in each dimensions and economic zones are different. Finally, this paper puts forward relevant suggestions for the government, regulators and financial institutions. The government and regulatory agencies need to strengthen supervision and pay attention to the rational allocation of resources, financial institutions should strengthen publicity and product innovation of digital financial inclusion, and traditional banking industry should increase participation. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | The Impact of digital financial inclusion on the urban-rural income gap in China | en_US |
dc.title.alternative | ผลกระทบของการเข้าถึงการเงินดิจิตอลต่อช่องว่างรายได้ระหว่างเมืองกับชนบทในประเทศจีน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Electronic commerce--China | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ประเทศจีนมีอำนาจทางเศรษฐกิจมากเป็นอันดับที่สองของโลก การกระจายทรัพยากรทางการเงิน อย่างมีความยุติธรรมและมีเหตุผลในเขตเมืองและเขตชนบทมีข้อจำกัด ทำให้เกิดปัญหาช่องว่างทาง รายได้และมีต่อความเท่าเทียมกันทางสังคม จากการที่มีการกระจายตัวของแอพพลิเคชั่นของอินเตอร์ เน็ตอย่างแพร่หลาย การรวมกันของการเงินดิจิทัลที่เพิ่มขึ้นอย่างเร็ว ทำให้เป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจีน การรวมกันของการเงินดิจิทัลต้องอาศัยนวัตกรรมเทคโนโลยี ทำให้ เกิดการลดต้นทุนและการขยายจำนวนสินค้าและบริการทางการเงินรวมถึงประสิทธิภาพในการควบ คุมความเสี่ยง การศึกษานี้ได้นำข้อมูลของ 30 จังหวัดในประเทศจีน โดยใช้ดัชนีเธลวัดช่องว่างของ รายได้ระหว่างเมืองกับชนบท และใช้ข้อมูลการรวมกันของการเงินดิจิทัลจากศูนย์วิจัยการเงินดิจิทัล ของมหาวิทยาลัยปักกิ่งเป็นตัวแปรอธิบาย เมื่อได้ทำการทดสอบเฮาส์แมนแล้ว แบบจำลองผลกระทบ สุ่มหรือคงที่จะนำมาใช้ในการวิเคราะห์ผลกระทบของการรวมกันของการเงินดิจิทัลที่มีต่อช่องว่างราย ได้ระหว่างเมืองกับชนบท และหาผลกระทบในมิติ และพื้นที่เศรษฐกิจที่แตกต่างกัน ผลการศึกษาพบ ว่า การพัฒนาการรวมกันของการเงินดิจิทัลในประเทศจีนสามารถลดช่องว่างของรายได้ระหว่างเมือง กับชนบท โดยมีผลกระทบที่แตกต่างกันในแต่ละมิติ และพื้นที่เศรษฐกิจ การศึกษามีข้อเสนอแนะ สำหรับรัฐบาลและผู้กำกับดูแล ให้ดูแลและให้ความสนใจในการจัดสรรทรัพยากรอย่างเข้มงวด ส่วน สถาบันการเงินควรเผยแพร่ข่าวสาร พัฒนานวัตกรรมของสินค้าทางการเงินดิจิทัล และอุตสาหกรรม ธนาคารควรเข้ามามีส่วนรวม | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631635817 LIANGPENG CHEN.pdf | 3.96 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.