Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78606
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุษรา ปัญญา-
dc.contributor.advisorยิ่งมณี ตระกูลพัว-
dc.contributor.advisorอังคณา อินตา-
dc.contributor.advisorหทัยชนก ปัณดิษฐ์-
dc.contributor.authorสาลินี เชียงชินen_US
dc.date.accessioned2023-08-03T10:09:00Z-
dc.date.available2023-08-03T10:09:00Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78606-
dc.description.abstractPhaya yo (Clinacanthus nutans), a medicinal plant belonging to the Acanthaceae family, has been grown in different parts of Thailand. This plant contains several phytochemicals which are defined as bioactive compounds. However, there is no report regarding the comparison of the phytochemical profile and bioactivities of C. nutans extract from different regions in Thailand up to date. In this present study, C.nutans extracts collected from totally 10 different parts of Thailand were determined for its genetic diversity and compared for the phytochemical components and their biological activities. The genetic diversity of fresh C. nutans leaves collected from the Northern, Central, and Northeastern regions of Thailand was investigated by sequence-related amplified polymorphism (SRAP) technique. The DNA fingerprint demonstrated that all 10 C. nutans samples had closely similarity with an average of 0.95 which could be divided into two major groups by the unweighted pair group method with arithmetic mean (UPGMA) analysis. The phytochemical analysis by using high-performance liquid chromatography (HPLC) was performed and used the representative phenolic compounds; the gallic acid and quercetin as the standards. The results indicated that all extracts had only low amounts of gallic acid and quercetin but varied among the extracts. The biological activity of C.nutans extracts was determined for the protective effect against lipopolysaccharide (LPS) induced cell death by cell viability assay, the antioxidant capacity by DPPH radical scavenging and the antibacterial activity by determining the broth dilution assay The results showed that all C. nutans extracts at highest test concentration (500 ug/ml) had no cytotoxicity and effectively inhibited LPS-induced cell death in bovine endothelial cells. All extract conferred the antioxidant activities against free radical scavenging DPPH with the ICso values ranging from 2.559 + 0.378 to 9.219 + 0.210. Moreover, all extracts could inhibit bacterial growth but the activities were varied among different bacteria species with MIC and MBC values of 31.25 and 250 mg/ml respectively. The findings of this study indicated that C. nutans from different regions of Thailand were closely related in genetic aspect concordant to the phytochemical profiles with similar patterns. However, the varied phytochemical quantity among these extracts was a major factor affecting their biological activities.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleฤทธิ์ทางชีวภาพและองค์ประกอบพฤกษเคมีของพญายอจากภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeBioactivities and phytochemical components of Clinacanthus nutans (Burm.f) Lindau from different regions of Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashพฤกษเคมี-
thailis.controlvocab.thashพืชสมุนไพร -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืช-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพญายอ (Clinacanthus muans) เป็นพืชสมุนไพรในวงศ์เหงือกปลาหมอ (Acanthaceae) สามารถพบได้ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย สารสกัดพญายอประกอบด้วยสารพฤกษเคมีที่มีฤทธิ์ ทางชีวภาพ แต่ยังไม่มีรายงานเปรียบเทียบสารพฤกษเคมีจากสารสกัดพญายอและฤทธิ์ทางชีวภาพ จากแหล่งเพาะปลูกที่ต่างกันในประเทศไทย การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความ หลากหลายทางพันธุกรรม ปริมาณสารพฤกษเคมี และฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดพญาขอ ที่เก็บจาก แหล่งเพาะปลูกจำนวน 10 แหล่งจากภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคอีสานของประเทศไทย การศึกษา ความหลากหลายทางพันธุกรรม โดยการวิเคราะห์จากการสร้างลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ด้วยเทคนิค Sequence-related amplified polymorphism (SRAP) marker พบว่าพญาขอทั้ง 10 แหล่ง มีความ คล้ายคลึงกันทางพันธุกรรมเฉลี่ย 0.95 และสามารถจัดกลุ่มตัวอย่างพญายอด้วยวิธี UPGMA ได้เป็น 2 กลุ่ม การวิเคราะห์ปริมาณสารพฤกษเคมีทุติยภูมิด้วยเครื่องโครมาโทกราฟฟีของเหลวสมรรถนะสูง (HPLC) โดยใช้กรดแกลลิกและเคอร์ซีตินเป็นสารมาตรฐานกลุ่มฟื้นอลิก พบว่าสารสกัดมีปริมาณ กรดแกลลิกและเคอร์ซีตินในสัดส่วนที่น้อยและมีปริมาณสารรวมแตกต่างกัน การศึกษาประสิทธิภาพ การออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดพญายอในการช่วยลดการตายของเซลล์จากการกระตุ้นของ ลิโพพอลิซ็กคาร์ไรด์ของแบคทีเรียด้วยเทคนิค cell viability assay ฤทธิ์ต้านสารอนุมูลอิสระ ด้วยเทคนิค DPPH radical scavenging activity และฤทธิ์การต้านแบคที่เรีย ด้วยเทคนิค Broth dilution พบว่าสารสกัดพญายอไม่แสดงความเป็นพิษต่อเซลล์ และมีฤทธิ์ป้องกันการตายของเซลล์จากการ กระตุ้นด้วย LPS ได้มากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเข้มข้น 500 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สารสกัด มีประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระ DPPH โดยมีค่า IC50 อยู่ในช่วง 2.559 +0.378 ถึง 9.219 + 0.210 มิลลิกรัมต่อมิลลิตร นอกจากนี้สารสกัดพญายอยังสามารถขับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย S.epidermidis, S.aureus, P.suedomonas และ E.coli ได้ โดยมีค่า MIC และ MBC เท่ากับ 31.25 และ 250 มิลลิกรัมต่อมิลลิตร ตามลำดับ ผลจากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าตัวอย่างพญายอจากแหล่ง เพาะปลูกที่ต่างกันในประเทศไทยมีพันธุกรรมที่คล้ายกัน รูปแบบสารพฤกษเคมีที่ได้จากการวิเคราะห์ มีความคล้ายคลึงแต่มีปริมาณสารพฤกษเคมีที่แตกต่างกันซึ่งส่งผลต่อฤทธิ์ทางชีวภาพen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620531008 สาลินี เชียงชิน.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.