Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78601
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNapon Hongsakulvasu-
dc.contributor.advisorWoraphon Yamaka-
dc.contributor.authorSatita Chawankhunakornen_US
dc.date.accessioned2023-07-30T14:29:34Z-
dc.date.available2023-07-30T14:29:34Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78601-
dc.description.abstractThis study aims to capture risk and volatility in the stock market of Thailand in sectoral level during COVID-19 pandemic, which has a bad effect in financial market around the world. Author uses new COVID-19 cases as the evidence base and Google Trend using the word "coronavirus" which reflects fear of people during the pandemic period. This study will focus on the following step: First, Autor investigate on dynamic risk in stock market by using traditional Capital Assets Pricing Model (CAPM) also applied The Generalized Additive Model (GAM) into CAPM (Time-varying CAPM) to estimate the coefficient in CAPM, which allows the coefficient to fluctuate depending on time and compare the performance of these two models. The result show time-varying CAPM has performed better compared with traditional CAPM also COVID-19 pandemic has an increasing market risk premium, but the coefficient of COVID-19 and Google Trend has not affected the SET index. This study found an increased risk during the 1st outbreak of COVID-19.Secondly, author employed GARCH (Generalized Autoregressive Conditional Heteroskedastic) model to find the volatility in stock market during the COVID-19 pandemic. The result found COVID-19 as evidence base has increased volatility and in some sector Google Trend also effect volatility too.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe Impact of the COVID-19 on stock exchange of Thailand by industriesen_US
dc.title.alternativeผลกระทบของ COVID-19 ต่อกลุ่มอุตสาหกรรมในตลาดหุ้นของประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshCOVID-19 (Disease)-
thailis.controlvocab.lcshIndustries-
thailis.controlvocab.lcshStock exchanges-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในปัจจุบัน COVID-19 ได้เป็นวิกฤตที่ได้ส่งผลกระทบต่อหลายภาคส่วน ไม่ว่าจะด้านการ ท่องเที่ยว ด้านสุขภาพ หรือด้านการเงิน ในหลายๆประเทศ ผลกระทบจาก COVID-19 ได้ส่งผลทั้งใน เศรษฐกิจระดับประเทศไม่ว่าจะเป็นตลาดหุ้น ตลาดแรงงาน และ ส่งผลไปยังกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ จนทำให้เกิดความผันผวนเป็นอย่างมากในตลาดหุ้นของหลายๆประเทศ (Albulescu,2020) ยิ่งไปมากกว่า นั้นในช่วงการระบาดของ COVID-19 ได้เพิ่มความเสี่ยงในตลาดการเงินอีกด้วย (Aslam, Mohmand, Ferreira et al,2020) ในวิจัยเล่มนี้ จึงมีจุดประสงค์ที่จะหาความเสี่ยง และ ความความผันผวนในตลาดหุ้นของไทย Stock Exchange of Thailand (SET)ในระดับอุตสาหกรรม โดยได้ทำการวิจัยช่วงเวลาของการระบาดของ โรค COVID-19 ปี 2020 โดยใช้จำนวนของผู้ติดเชื้อรายใหม่ของโรค COVID-19 แทนการแทนการ เทียบเทียมการระบาดในประเทศไทย และใช้ Google Trend คำว่า CORONAVIRUS ที่สามารถสะท้อง ความกลัวของผู้คนในขณะเกิดโรคระบาดได้เป็นอย่างดี โดยวิจัยนี้ได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย การหาความเสี่ยง และ การหาความผันผวน การหาความเสี่ยงในวิจัยเล่มนี้ ผู้เขียนได้ใช้ Capital Assets Pricing Model (CAPM) ในการหาความเสี่ยงของตลาดหุ้น โดย(เขียงได้นำ The Gencralized Additive Model (GAM) ไปประยุกต์ใช้ เพื่อที่จะทำให้ค่าสัมประสิทธิ์ในสมการสามารถผันแปรตามเวลาที่เปลี่ยนได้ (time-varying CAPM) โดย ในวิจัยนี้ได้ค้นพบว่า รูปแบบจำลองจาก time-varying CAPM สามารถทำผลออกมาได้ดีกว่า การหาความผันผวน ผู้เขียนได้ใช้แบบจำลอง Generalized Autoregressive Conditional Heteroskedastic (GARCH) ในการหาความผันผวน ในช่วงเวลาที่เกิดการแพร่กระจายของโรค COVID-19 ในปี 2020 และการวิจัยได้แสดงผลออกมาว่า ในบางอุตสาหกรรม ตัวแปรภายนอกได้มีผลกระทบต่อ ความผันผวนในอุตสาหกรรมต่างๆอีกด้วยในปี 2020 และการวิจัยได้แสดงผลออกมาว่า ในบางอุตสาหกรรม ตัวแปรภายนอกได้มีผลกระทบต่อความผันผวนในอุตสาหกรรมต่างๆอีกด้วยen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611635936 สาธิตา ชวาลคุณากร.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.