Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78600
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Piyaluk Buddhawongsa | - |
dc.contributor.advisor | Supanika Leurcharusmee | - |
dc.contributor.author | Saithan Manasri | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-30T13:16:45Z | - |
dc.date.available | 2023-07-30T13:16:45Z | - |
dc.date.issued | 2021-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78600 | - |
dc.description.abstract | This study aims to examined the factors affecting job satisfaction and job mobility of international school teachers in Chiang Mai. An online survey was used to collect data from 110 teachers from 15 international schools. The questionnaire separated into 3 parts include; demographic data, teacher and school characteristic and factors affecting to job satisfaction and job mobility. The Multiple indicators and Multiple causes (MIMIC) were used to estimate the relationships between latent and observed variables. On the previous studies, there were nine variables include; Freedom, Advice, Relationship, Time pressure, Student's behavior, Energy loss, Insensitive feeling, Accomplished and Money aspect. The results found that teachers who felt they were under a lot of time pressure or felt insensitive feeling thought their job were more likely to be dissatisfied and more likely to leave their jobs. Teachers who received advice from their supervisors, felt fair with their money aspect, and teachers who stated to have challenging students were significantly more satisfied.Since the most important factors in both job satisfaction and intention to leave is time pressure. Then, the policy implication for international school administrators should adjust workload and time management. Moreover, the international schools should focus on the freedom of teachers. There are some insights to improve teacher's satisfaction and solve teacher's turnover problem for further implication. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Teachers’ job satisfaction and job mobility in international schools in Chiang Mai | en_US |
dc.title.alternative | ความพึงพอใจและการย้ายงานของครูโรงเรียนนานาชาติในจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | International schools -- Chiang Mai | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Job satisfaction -- Chiang Mai | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Teacher transfer -- Chiang Mai | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและการย้ายงาน ของครูโรงเรียนนานาชาติในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งวิธีการเก็บข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถาม ในรูปแบบออนไลน์ ครูจำนวนทั้งสิ้น 110 คน จากโรงเรียนนานาชาติในเชียงใหม่ทั้งหมด 15 โรง โดย แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะของครูใน โรงเรียน และตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและการย้ายงานของครูในโรงเรียนนานาชาติ วิธีการวิเคราะห์ในการศึกษาครั้งนี้เลือกใช้วิธี The Muliple Indicators and Muliple Cause model (MIMIC) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและ การย้ายงานของครู โรงเรียนนานาชาติ ในจังหวัดเชียงใหม่ จากการศึกษาและทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องปรากฎ ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการศึกษา คือ ความเป็นอิสระ, การได้รับคำแนะนำ, ความสัมพันธ์, แรงกดดัน เรื่องเวลา, พฤติกรรมของนักเรียน, ความเหนื่อยล้า, ความรู้สึกเฉยชา, ความสำเร็จ และความรู้สึกต่อ เงินที่ได้รับ ผลการศึกษา พบว่า ครูที่ได้รับแรงกดดันเรื่องเวลาจากการทำงานหรือความรู้สึกที่เฉยชา มีอิทธิพลเชิงลบต่อความพึงพอใจและเชิงบวกต่อการย้ายงาน อีกทั้ง ครูที่ได้รับคำแนะนำที่ดีจาก ผู้บริหาร รู้สึกถึงความเท่าเทียมของเงินที่ได้รับ และรู้สึกประสบความสำเร็จจากการทำงานมีอิทธิพล เชิงบวกต่อความพึงพอใจของครูในโรงเรียนนานาชาติ จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาปรากฏตัวแปร ที่มีอิทธิพลทั้งความพึงพอใจและการย้ายงานของครู คือ แรงกดดันเรื่องของเวลาในการทำงาน ซึ่งสามารถสนอแนะนโยบายจากผลการศึกษาโดยการ จัดการเรื่องภาระการทำงาน และการกระจายภาระงานของครูในโรงเรียน อีกทั้ง นโยบายเกี่ยวกับ การให้อิสระในการจัดวิธีการเรียนการสอน เพื่อลดภาวะความรู้สึกต่อการย้ายงานในเรื่อง ทั้งนี้ ยังเป็น แนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับความพึงพอใจและการย้ายงานของผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611635935 สายธาร มาณะศรี.pdf | 1.48 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.