Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78564
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSupanika Leurcharusmee-
dc.contributor.advisorPiyaluk Buddhawongsa-
dc.contributor.advisorParavee Maneejuk-
dc.contributor.authorNattakit Kasemen_US
dc.date.accessioned2023-07-23T14:22:12Z-
dc.date.available2023-07-23T14:22:12Z-
dc.date.issued2021-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78564-
dc.description.abstractBetween 2017 and 2020, the number of newly registered electric vehicles in Thailand skyrocketed by 191%, demonstrating that Thais are becoming more interested in electric vehicles. As a result, this research aims to (a) study potential consumers' purchasing preference for electric vehicles and (b) estimate the willingness to pay for each attribute of electric vehicles. This study conducted a choice experiment using an online survey to collect a sample of 207 electric vehicles potential buyers. The mixed logit model was used to examine the key attributes of electric vehicles that affect consumers' willingness to pay. Consumers are willing to pay a relatively high price for electric vehicles with a long driving range, followed by low battery recharging time and vehicle maintenance costs. Specifically, the respondents were willing to pay significantly more for the driving range of 400 km comparing to that of 200 km or 100 km. Furthermore, the respondents were willing to pay significantly more for a shorter recharging time of 60 or 120 minutes comparing to 360 minutes. The above results can be utilized to provide design and marketing recommendations for the electric vehicle industry.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleWillingness to Pay for Attribute of Electric Vehicles in Thailanden_US
dc.title.alternativeความเต็มใจจ่ายต่อคุณลักษณะของรถยนต์พลังงานไฟฟ้าในประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshElectric automobiles -- Purchasing-
thailis.controlvocab.lcshConsumer behavior-
thailis.controlvocab.lcshWillingness to pay-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractจำนวนรถยนต์ไฟฟ้ที่จดทะเบียนใหม่ในประเทศไทยเพิ่มขึ้น 191% จากปี 2560 เป็น 2563 ซึ่งบ่งชี้ว่าคนไทยเริ่มให้ความสนใจรถยนต์ไฟฟ้ามากขึ้น ดังนั้นการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาความต้องการซื้อของผู้บริโภคที่มีศักยภาพสำหรับรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย 2.ประเมินความ เต็มใจจ่ายสำหรับแต่ละคุณลักษณะของรถนด์ไฟฟ้าในประเทศไทย การศึกษานี้ได้ข้อมูลมาจาก สำรวจออนไลน์ของผู้ที่สนใจ จะซื้อรถยนต์ไฟฟ้า มีผู้ตอบแบบสอบถาม 207 คนในการศึกษานี้ สำหรับวิธีการทดสอบใช้วิธีการแบบ Mixed Iogit เพื่อวิเคราะห์หาคุณลักษณะที่สำคัญของรถขนด์ พลังงานไฟฟ้ และวิคราะห์ความเต็มใจจ่ายต่อค่าบำรุงรักษา ระะทางการขับขี่ต่อการชาร์จแบดเตอรี่ ระยะเวลาในการชาร์จแบตเตอรี่ของรถยนต์พลังงานไฟฟ้า ผลการศึกษาพบว่าคุณลักษณะของรถยนต์พลังงานไฟฟ้า ได้แก่ ค่าบำรุงรักษารถยนต์ ระยะ ทางการขับขี่ต่อการชาร์จแบตเตอรี่ และระยะเวลาในการชาร์จ ล้วนมีนัยสำคัญต่อการตัดสินใจเลือก ซื้อรถยนต์พลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย ระหว่างนี้พบว่าคุณลักษณะของรถยนต์พลังงานไฟฟ้และ ลักษณะของผู้ตอบแบบสอบถามมีนัยสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกซื้อเช่นกัน เช่นระยะทางการขับขี่ต่อ การชาร์จแบตเตอรี่กับเพศ และอายุ เป็นต้น นอกจากนี้เมื่อวิเคราะห์ความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคต่อ คุณลักษณะของรถยนต์พลังงานไฟฟ้พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมาก และผู้ตอบแบบสอบถามมี ความเต็มใจง่ายสูงเมื่อระยะทางการขับขี่ต่อการชาร์จเพิ่มขึ้น ซึ่งผลจากการศึกษาข้างต้นสามารถนำ เป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและการตลาดสำหรับอุตสาหกรรมรถยนต์พลังงานไฟฟ้า และหวังว่าผล การศึกษาครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาในอนาคตen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611635925 ณัฏฐกฤษณ์ เกษม.pdf14.82 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.