Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78551
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี-
dc.contributor.authorภานุพงศ์ กิติตาลen_US
dc.date.accessioned2023-07-22T08:47:26Z-
dc.date.available2023-07-22T08:47:26Z-
dc.date.issued2023-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78551-
dc.description.abstractThe commercial district of Lamphun has been a center for both water and land trade for a long time. Bartering led to trade, forming the first trading district, the market. Later, it became a building called a shop house. Shophouses are therefore something that still exists along with the way of life of the Lamphun people from the past to the present. It is a symbol that represents the cultural identity with the wisdom of the Lamphun people all along. The research therefore focused on studying the specific characteristics of the shophouse style. To discuss the dynamics of shop houses in the commercial area of Lamphun. The qualitative research method used was observation, interviews and field data collection. The results of the study showed that the shops in the Lamphun commercial area and the shops in the literature were similar in terms of shape and space layout. structure and material by the factor caused by the acceptance of other cultures entering the area The inheritance of wisdom combined with the adaptation of learning to suit the conditions of the reproduction area is a trend that has been followed in each generation. It was found that there were 3 differences that showed the specific characteristics of Lamphun shophouses: 1) size and proportion 2) layout of available space 3) decoration materials. Understanding the shophouse style that represents the characteristics makes it possible to recognize the changing dynamics of the shophouse style, namely Changes in periods caused by factors immigration cultural exchange And the economic development plan of the economic development plan continues to have a continuous cause and factor that leads to the location change of Lamphun trade area, affecting unequal economic growth in each area. trade And it also affects the change between the use of space that recognizes the trend of the use of space in the past that gradually disappears over time due to the impact arising from the changing business style of the new generation. Therefore affecting the use of the current shop house A study of specific characteristics of shophouses in Lamphun Province can be further extended in education that is consistent with the way of life between people and architecture It is information that promotes the conservation of shops in other commercial areas in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพลวัตของรูปแบบเรือนร้านค้าในจังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeDynamic of shophouse styles in Lamphunen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashพลศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashบ้าน -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashร้านค้า -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashสถาปัตยกรรม -- ลำพูน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractย่านการค้าเมืองลำพูนเป็นศูนย์กลางทางการค้าทางน้ำ และทางบกควบคู่กันมาอย่างยาวนาน การแลกเปลี่ยนสินค้านำไปสู่การค้าขายเกิดเป็นย่านการค้าแรกเริ่มคือตลาด ต่อมาจึงกลายเป็นสิ่งปลูกสร้างที่เรียกว่าเรือนร้านค้า เรือนร้านค้าจึงเป็นสิ่งที่ยังคงอยู่ควบคู่กับวิถีชีวิตของคนลำพูนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเครื่องหมายที่แสดงถึงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมด้วยศาสตร์ทางภูมิปัญญาของคนลำพูนตลอดมา งานวิจัยจึงได้มุ่งเน้นศึกษาลักษณะเฉพาะของรูปแบบเรือนร้านค้าเพื่ออภิปรายถึงพลวัตของรูปแบบเรือนร้านค้าในบริเวณย่านการค้าเมืองลำพูน โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสังเกตการณ์สัมภาษณ์และเก็บข้อมูลภาคสนามผลการศึกษาพบว่า เรือนร้านค้าในย่านการค้าลำพูนและเรือนร้านค้าในวรรณกรรมมีความคล้ายคลึงกันในด้าน รูปทรง ผังพื้นที่ว่าง โครงสร้าง และวัสดุ โดยปัจจัยที่เกิดจากการยอมรับวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่เข้ามาในพื้นที่ การสืบทอดภูมิปัญญาผสมกับการปรับเปลี่ยนเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่เกิดการผลิตซ้ำเป็นเทรนด์ที่สร้างตามกันมาในแต่ละยุค โดยพบข้อแตกต่างที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของเรือนร้านค้าลำพูนได้ 3 ประการคือ 1) ขนาดและสัดส่วน 2) ลักษณะผังพื้นที่ว่าง 3) วัสดุการตกแต่ง การเข้าใจในรูปแบบเรือนร้านค้าที่แสดงถึงลักษณะเฉพาะทำให้รับรู้ถึงพลวัตการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบเรือนร้านค้าคือ การเปลี่ยนแปลงของช่วงเวลาที่เกิดจากปัจจัย การย้ายถิ่นฐาน การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และแผนพัฒนาการของเศรษฐกิจแผนพัฒนาเศรษฐกิจยังส่งผลอย่างต่อเนื่องเป็นเหตุ และปัจจัยที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงสถานที่ของย่านการค้าลำพูนส่งผลต่อการเจริญเติมโตทางเศรษฐกิจที่ไม่เท่ากันในแต่ละย่านการค้า และยังส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงระหว่างการใช้พื้นที่ที่รับรู้ถึงแนวโน้มของการใช้พื้นที่ในอดีตที่ค่อย ๆหายไปตามกาลเวลาจากผลกระทบที่เกิดขึ้นจากรูปแบบการประกอบธุรกิจอาชีพของคนรุ่นหลังที่เปลี่ยนไปจึงมีผลต่อการใช้งานเรือนร้านค้าในปัจจุบัน การศึกษาลักษณะเฉพาะของเรือนร้านค้าในจังหวัดลำพูน สามารถนำไปต่อยอดในทางการศึกษาที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตระหว่างคนกับสถาปัตยกรรม เป็นข้อมูลที่ส่งเสริมแนวทางการอนุรักษ์เรือนร้านค้าในย่านการค้าอื่นในอนาคตต่อไปen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611731006 ภานุพงศ์ กิติตาล.pdf21.55 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.