Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78526
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNopakarn Chandet-
dc.contributor.advisorNuansri Rakariyatham-
dc.contributor.advisorJidapha Tinoi-
dc.contributor.authorMethus Chuwechen_US
dc.date.accessioned2023-07-21T01:19:57Z-
dc.date.available2023-07-21T01:19:57Z-
dc.date.issued2022-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78526-
dc.description.abstractThis research study was aimed to investigate the production of resistant starch type III (RS3) from anthocyanin-rich flour. The raw materials including purple rice, purple sweet potato, and purple corn were studied. The study consisted of all 3 types of raw materials that contain flour as the main component. The purple flours through the process of extracting protein and lipid to be starch. The studied on the chemical composition, it was found that the carbohydrate content of all 3 types of starches was 80.28-81.52%. The highest amylose content in purple sweet potato starch (20.64%), followed by purple rice starch (9.36%) and purple corn starch (6.27%). The 3 types of purple starches were selected for further study. The studied on the production of resistant starch type III (RS3), after modification by dual-retrogradation treatment (DART), the resistant starch (RS) content of purple rice starch (34.13 %) was higher than that of purple sweet potato (26.15%) and purple corn starch (20.73%). While the dual enzyme treatment (DET) modification was conducted to study the optimum conditions of the α-amylase enzyme, the optimum conditions revealed that the hydrolyzed time was 15 min, pH 5.5, temperature 90°C, enzyme concentration 4 U/g, and initial starch was 25% (w/v) for purple corn, and purple rice starch and 20% (w/v) for purple sweet potato starch. The optimum conditions of pullulanase were 16 h, pH 4.5, temperature 50°C, maximum enzyme concentration of 12 U/g for purple corn starch, 10 U/g for purple rice starch, and 8 U/g for sweet potato starch. After retrogradation at 4°C for 24 h, it was found that the maximum resistant starch content was purple corn starch (54.27%) was followed by purple sweet potato (53.36%) and purple rice (51.34%). RS obtained from purple starches were significantly higher levels of RS content (p<0.05) compared with native purple starches. The studied on the characterization of RS including structure by SEM, physical and thermal properties, and enthalpy of gelatinization (∆H). It was found that the structure of starch granules was changed, swelling and solubility index decreased, the viscosity decreased. In addition, the crystalline pattern from XRD were changed when compared with native purple starch. For antioxidant activity assay, DPPH, ABTS, and FRAP assay were studied. From this study found that RS obtained from purple starches still had lower antioxidant activity compared with native purple starches. The % hydrolysis of RS obtained from purple starches by human saliva, gastric condition, and intestinal condition were decreased when compared to the native purple starches, the result showed that RS obtained from purple starches has similar physiological effects as dietary fiber.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleProduction of resistant starch type III (RS3) from anthocyanin-rich flouren_US
dc.title.alternativeการผลิตสตาร์ชทนย่อยชนิดที่ 3 จากแป้งที่มีแอนโทไซยานินสูงen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshFlour-
thailis.controlvocab.lcshAnthocyanins-
thailis.controlvocab.lcshResistant starch-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตสตาร์ชทนย่อยชนิดที่ 3 จากแป้งที่มีแอนโทไซยานินสูง วัตถุดิบที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ข้าวก่ำ มันม่วง และข้าวโพดม่วง การทดลองเริ่มจากการนำวัตถุดิบทั้ง 3 ชนิดที่มีแป้งเป็นองค์ประกอบหลัก โดยนำส่วนของแป้งมาผ่านกระบวนการสกัดโปรตีนและไขมันออกได้เป็นสตาร์ช เมื่อศึกษาองค์ประกอบทางเคมี พบว่า สตาร์ชทั้ง 3 ชนิดมีปริมาณคาร์โบไฮเดรต 80.28-81.52% ปริมาณอะมัยโลสในสตาร์ชมันม่วงสูงที่สุดคิดเป็น 20.64% รองลงมาคือสตาร์ชข้าวก่ำคิดเป็น 9.36% และต่ำสุดคือสตาร์ชข้าวโพดม่วงคิดเป็น 6.27% สตาร์ชทั้ง 3 ชนิดจะถูกใช้ในการศึกษาขั้นตอนต่อไป จากการศึกษาการผลิตสตาร์ชทนย่อยชนิดที่ 3 ด้วยวิธี dual-autoclaving retrogradation treatment (DART) พบว่า ปริมาณสตาร์ชทนย่อยของสตาร์ชข้าวก่ำ (ร้อยละ 34.13) มีค่าสูงกว่าสตาร์ชมันม่วง (ร้อยละ 26.15) และสตาร์ชข้าวโพดม่วง (ร้อยละ 20.73) การศึกษาการผลิตสตาร์ชทนย่อยชนิดที่ 3 ด้วยวิธี dual enzyme treatment (DET) ได้ศึกษาภาวะที่เหมาะสมของเอนไซม์ α-amylase พบว่า ระยะเวลาการย่อย 15 นาที ค่า pH 5.5 อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส ความเข้มข้นของเอนไซม์ 4 ยูนิตต่อกรัม และปริมาณสตาร์ชเริ่มต้นร้อยละ 25 (w/v) สำหรับสตาร์ชข้าวโพดม่วงและสตาร์ชข้าวก่ำร้อยละ 20 (w/v) สำหรับสตาร์ชมันม่วง ขณะที่ภาวะที่เหมาะสมของเอนไซม์พูลลูลาเนส พบว่า ระยะเวลาการย่อย 16 ชั่วโมง ค่า pH 4.5 อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส ความเข้มข้นของเอนไซม์สูงสุด 12 ยูนิตต่อกรัม สำหรับสตาร์ชข้าวโพดม่วง 10 ยูนิตต่อกรัม สำหรับสตาร์ชข้าวก่ำ และ 8 ยูนิตต่อกรัม สำหรับสตาร์ชมันม่วง เมื่อนำสตาร์ชทั้งหมดไปผ่านกระบวนการเกิดรีโทรเกรเดชันที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง พบว่า ปริมาณสตาร์ชทนย่อยสูงสุดของสตาร์ชข้าวโพดม่วง (ร้อยละ 54.27) มีค่าสูงกว่าสตาร์ชมันม่วง (ร้อยละ 53.36) และสตาร์ชข้าวก่ำ (ร้อยละ 51.34) ซึ่งการดัดแปรสตาร์ชทั้ง 2 วิธี พบว่า มีปริมาณสตาร์ชทนย่อยที่สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับสตาร์ชก่อนการดัดแปร จากการศึกษาลักษณะทางโครงสร้าง สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางความร้อน และความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ พบว่า สตาร์ชทนย่อยมีลักษณะเม็ดสตาร์ชที่เปลี่ยนแปลงไป การพองตัว การละลายและความหนืดลดลง พลังงานที่ใช้ในการเกิดเจลาทิไนเซชัน (∆H) เพิ่มสูงขึ้น และ พบว่า รูปแบบผลึกของสตาร์ชทนย่อยทั้ง 3 ชนิดที่ผ่านการเกิดรีโทรเกรเดชันเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเปรียบเทียบกับสตาร์ชก่อนการดัดแปร ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH, ABTS และ FRAP assay จากการศึกษา พบว่า สตาร์ชทนย่อยยังคงมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับสตาร์ชก่อนการดัดแปร นอกจากนี้ เมื่อจำลองสภาวะการย่อยอาหารในมนุษย์ พบว่า การเพิ่มขึ้นของสตาร์ชทนย่อยสามารถลดระดับการย่อยด้วยน้ำลายมนุษย์ สภาวะจำลองกรดในกระเพาะอาหารและสภาวะจำลองในลำไส้เล็ก แสดงถึงความสามารถในการเป็นเส้นใยอาหารได้en_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:BMEI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
599951007-เมธัส ชูเวช.pdf6.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.