Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78518
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChartchai Khanongnuch-
dc.contributor.advisorCharin Mangkhang-
dc.contributor.advisorChalermpong Saenjum-
dc.contributor.authorPhremyaphar Samerjaien_US
dc.date.accessioned2023-07-20T00:36:06Z-
dc.date.available2023-07-20T00:36:06Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78518-
dc.description.abstractThe objectives of the research were to study the conditions and potential of the management of the action learning resources; to develop action learning resources through Miang indigenous wisdom; and to evaluate the management model of the action learning resources through Miang indigenous wisdom for creative education promotion in Mae Kampong Village, Chiang Mai Province. It was mixed research. Key informants were selected by purposive sampling. The instruments used were: 1) Semi-structured interview form. Data were analyzed through content analysis and summarized into issues, 2) Model-confirm form. Data were analyzed using frequency and percentage 3) Model evaluation form, the data were analyzed by mean ( ) and standard deviation (S.D). The research results showed that The conditions of the learning resources through Miang indigenous wisdom consist of community capital, which is an environmental factor that generates a learning resource as follows: 1) Physical aspect is a sloping geography surrounded by mountains. The natural capitals were a watershed-forest area, fresh air, and an abundance of ecosystems. 2) The social structure of the community was interdependent as a kinship system. 3) It was a community with a lifestyle of cultural and wisdom capital through Miang indigenous wisdom which was inherited from ancestors; 4) Livelihood was related to forest based on agriculture along with forest preservation.5) Occupational identity in terms of Miang planters in the forest that has been inherited from ancestors. 6) Characteristics of social participation and helping each other were classified as social capital, and 7) The overall economic aspect of the community, including the former trading system based on Miang plantation and production of Miang to exchange for rice and food to support the family. At present, eco-tourism mainly generates income and distribution to the community members. The potential factors contributing to the success of sustainable development were suggested to consist of five issues: (1) Protecting environmental resources (2) Raising awareness of participation in sustainable development and a lifestyle that is in harmony with nature. (3) Enhancing the potential to link local wisdom capital and global society with media technology for access to learning resources for people of all ages. (4) Developing community personnel's life skills in the management of learning resources through Miang indigenous wisdom in the era of change (5) Development cooperation in marketing and public relations, expanding the results of products and services through Miang indigenous wisdom, and elevating educational tools to suit all groups of people with information technology systems, websites, and online media, the community participates in the management and uses them to develop Miang indigenous wisdom to promote effective creative education in the future. The results of developing a model consisted of Principles (P); Goals (G); Operations (O) consisting of six procedures as follows: 1) Shared understanding (S), 2) Collaboration with the community (C) in every step, 3) Participation work Integration (P) all sectors, 4) Design and development (D) by organizing a focus group discussion for brainstorming to design and develop the collaboration on the existing ideas (Reskills), apply the utilization, look at new issues, and collaboratively design and formulate a guideline for the development of an action learning resource management model, including mechanism and people network development, product development, and trade promotion. 5) Reflection and passing on perfect feedback (R) through lessons learned, dissemination, and expanding results. 6) Upskills (Up) through Miang indigenous wisdom for sustainable management of learning resources with local wisdom as follows: to raise the level of environmental conservation, lifestyle identity; to use knowledge and inherent wisdom in terms of traditions, beliefs, wisdom, ecosystem, and environmental conservation; food culture; and cultural tourism to promote Lanna's health and beauty; to upgrade the processes of creative education management in community action learning resources by using media and technology as a tool of creative education management in various forms by collaborative community personnel and educational personnel in the area. Condition for achievement (C) was the management that facilitates community participation, community collaboration, and community sustainability. The results of verifying the draft model in terms of accuracy were 97.22 percent, and the suitability was 94.44 percent. In the case of the model evaluation results, the overall model feasibility was at the highest level ( = 4.91, S.D. = 0.07), and the overall utility was also at the highest level ( = 4.87, S.D. = 0.03), to form the SCPDR+Up Model for the community to use in developing and using the existing cultural community capital for the management of the action learning resources through Miang indigenous wisdom capital by applying information technology as a part to raise the level of learning access leading to a community classroom for promotion of sustainable creative education. Keywords: Action learning resources, Miang indigenous wisdom, Creative education, Watershed forest area, Mae Kampong Village.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of action learning resources through Miang indigenous wisdom to promote creative education in Mae Kam Pong Village, Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาแหล่งเรียนรู้เชิงปฏิบัติการผ่านภูมิปัญญาคนเหมี้ยงเพื่อส่งเสริมการศึกษาเชิงสร้างสรรค์ในพื้นที่บ้านแม่กำปอง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshLocal wisdom -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshEcotourism -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshCommunity development -- Chiang Mai-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพและศักยภาพการจัดการแหล่งเรียนรู้ (2) เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้เชิงปฏิบัติการผ่านภูมิปัญญาคนเหมี้ยง และ (3) เพื่อประเมินรูปแบบ การจัดการแหล่งเรียนรู้เชิงปฏิบัติการผ่านภูมิปัญญาคนเหมี้ยงเพื่อส่งเสริมการศึกษาเชิงสร้างสรรค์ในพื้นที่บ้านแม่กำปอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักเลือกโดยเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และสรุปประเด็น 2) แบบตรวจสอบรูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ 3) แบบประเมินรูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยผลการวิจัย พบว่า สภาพแหล่งเรียนรู้ผ่านภูมิปัญญาคนเหมี้ยง ประกอบไปด้วยทุนชุมชนซึ่งเป็นปัจจัยสภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ 1) ด้านกายภาพมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ลาดชันมีภูเขาล้อมรอบ มีทุนทางธรรมชาติเป็นพื้นที่ป่าต้นน้ำ อากาศที่บริสุทธิ์ และระบบนิเวศที่อุดมสมบูรณ์ 2) โครงสร้างทางสังคมของชุมชนพึ่งพาอาศัยกันเป็นระบบเครือญาติ 3) เป็นชุมชนที่มีวิถีชีวิตเป็นต้นทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาการทำเหมี้ยงที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ 4) การดำรงชีวิตมีความผูกพันกับป่า พึ่งพาเกษตรกรรมในการดำรงชีพไปพร้อมกับการอนุรักษ์ป่า 5) มีเอกลักษณ์ด้านอาชีพการปลูกเหมี้ยงในป่าที่สืบทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ 6) ลักษณะการมีส่วนร่วมช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เป็นทุนทางสังคม และ 7) ภาพรวมด้านเศรษฐกิจของชุมชน ได้แก่ ระบบการค้าในอดีตด้วยการปลูกและผลิตเหมี้ยงเพื่อแลกเปลี่ยนเป็นข้าวและอาหารมาจุนเจือครอบครัว ปัจจุบันการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เป็นส่วนในการสร้างรายได้และกระจายรายได้สู่คนในชุมชน ศักยภาพปัจจัยเอื้อต่อความสำเร็จเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนมี 5 ประเด็น ได้แก่ (1) การปกป้องทรัพยากรด้านสิ่งแวดล้อม (2) การสร้างความตระหนักถึงการมีส่วนร่วมการพัฒนาที่ยั่งยืนและวิถีชีวิตที่สอดคล้องกับธรรมชาติ (3) การเสริมสร้างศักยภาพในการเชื่อมโยงทุนภูมิปัญญาท้องถิ่นและสังคมโลกด้วยสื่อเทคโนโลยีเพื่อการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ให้กับคนทุกช่วงวัย (4) การพัฒนาทักษะชีวิตบุคลากรชุมชนในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้เชิงปฏิบัติการผ่านภูมิปัญญาคนเหมี้ยงในยุคการเปลี่ยนแปลง (5) การพัฒนาความร่วมมือทางด้านการตลาดประชาสัมพันธ์ ต่อยอด ขยายผล ผลิตภัณฑ์และการบริการผ่านภูมิปัญญาคนเหมี้ยง และยกระดับเครื่องมือทางการศึกษาให้เหมาะสมกับคนทุกกลุ่มด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เวปไซต์ สื่อออนไลน์ โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการและนำไปใช้ในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้เชิงปฏิบัติการผ่านภูมิปัญญาคนเหมี้ยงเพื่อส่งเสริมการศึกษาเชิงสร้างสรรค์อย่างมีประสิทธิภาพต่อไปในอนาคต ผลการพัฒนารูปแบบ ประกอบด้วย หลักการ (P) วัตถุประสงค์ (G) วิธีดำเนินการ (O) 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) สร้างความเข้าใจร่วมกัน (S) 2) ชุมชนมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน (C) 3) การมีส่วนร่วมในการบูรณาการทุกภาคส่วน (P) 4) ออกแบบและพัฒนา (D) ได้แก่ ร่วมคิดต่อยอดจากที่มีอยู่ (Reskills) ประยุกต์การใช้ประโยชน์ มองประเด็นใหม่ได้ ร่วมออกแบบ (Design) และจัดทำแนวทางการพัฒนา (Development) รูปแบบการจัดการแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ การพัฒนากลไกและเครือข่าย (People) การพัฒนาผลิตผล/ ผลิตภัณฑ์ (Product) การส่งเสริมการค้าขาย (Promotion) 5) การสะท้อนผล และส่งต่อความคิดเห็นที่สมบูรณ์แบบ (R) ได้แก่ ถอดบทเรียน เผยแพร่ ขยายผล 6) ยกระดับทักษะองค์ความรู้ภูมิปัญญาคนเหมี้ยง เพื่อการจัดการแหล่งเรียนรู้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ได้แก่ ยกระดับด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้านอัตลักษณ์วิถีชีวิต ด้านการสืบสานภูมิปัญญาประเพณี ความเชื่อ เพื่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม ด้านวัฒนธรรมอาหารเพื่อสืบสานคุณค่าภูมิปัญญาคนเหมี้ยง ด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ความงามแบบภูมิปัญญาล้านนา และ ยกระดับกระบวนการในการจัดการศึกษาอย่างสร้างสรรค์ในแหล่งเรียนรู้ชุมชนโดยใช้สื่อเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการจัดการศึกษาอย่างสร้างสรรค์ในรูปแบบต่างๆ โดยบุคลากรชุมชนร่วมกับบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ เงื่อนไขความสำเร็จของรูปแบบ (C) ได้แก่ การบริหารจัดการที่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมและความยั่งยืนของชุมชน ผลการตรวจสอบร่างรูปแบบ ด้านความถูกต้อง ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับ ร้อยละ 97.22 และ ด้านความเหมาะสม ค่าเฉลี่ยโดยรวม ร้อยละ 94.44 ผลการประเมินรูปแบบ ด้านความเป็นไปได้ โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ )= 4.91, S.D. = 0.07) และ ความเป็นประโยชน์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄)= 4.87, S.D. = 0.03) เพื่อเป็นรูปแบบ SCPDR+Up Model ให้ชุมชนนำไปใช้เป็นแนวทางต้นแบบในการพัฒนาและใช้ทุนชุมชนที่มีอยู่เพื่อการจัดการแหล่งเรียนรู้เชิงปฏิบัติการผ่านทุนวัฒนธรรมภูมิปัญญา คนเหมี้ยง โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นส่วนหนึ่งในการยกระดับการเข้าถึงการเรียนรู้นำไป สู่การเป็นห้องเรียนชุมชนเพื่อส่งเสริมการศึกษาเชิงสร้างสรรค์ ที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน อย่างยั่งยืนต่อไปen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
๖๐๐๒๕๑๐๐๗เปรมรยา เสมอใจ.pdf12.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.