Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78514
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Songsak Sriboonchitt | - |
dc.contributor.advisor | Woraphon Yamaka | - |
dc.contributor.advisor | Paravee Maneejuk | - |
dc.contributor.author | Jia, Zhaoshu | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-19T00:42:11Z | - |
dc.date.available | 2023-07-19T00:42:11Z | - |
dc.date.issued | 2021-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78514 | - |
dc.description.abstract | This study aims to investigate the causality and dependence structure of energy shocks and G7 stock markets. The positive and negative shocks of energy prices are quantified, and Granger causality-based Vector autoregressive and Copula approaches are employed to measure the causality and contagion effect, respectively, between the positive and negative energy shocks and G7 stock markets’ volatilities. Besides, this study uses a smooth dynamic Copula model to describe the nonlinear and asymmetric dependency structure and obtains a lower tail coefficient, which can fully describe the risk of contagion effects. Compared with previous studies, the use of tail coefficients to measure the risk spread of energy prices impacting the G7 stock markets is also an innovative method of this study. Briefly, the purposes of this study are as follows: 1) to measure the dependence between coal, oil, natural gas, and the stock markets of G7 countries. 2) to test the causality between the coal, oil, natural gas shocks, and G7’s stock market volatilities. 3) to investigate the "risk contagion" mechanism of coal, oil, natural gas, and G7 stock markets by investigating the tail dependencies of variables. In this study, the weekly data of WTI crude oil price, Rotterdam coal price and world natural gas price from August 2006 to December 2020 will be selected as well as the comprehensive stock price indices of G7 countries, which are the US S&P 500 Index and the Nikkei 225 index, the German DAX30 index, the French CAC40 index, the British FTSE100 index, the Italian FTSE MIB index, and the Canadian Toronto S&P_TSX composite index. In this way, we will study the causal and interdependent relationship between changes in international energy prices and the stock markets of G7 countries. In addition, the nonlinear link between energy and stock markets is of concern and this motivates us to propose a Smooth Transition Dynamic Copula that allows for the structural change in time-varying dependence between energy shocks and G7 markets’ volatilities. Several Copula families are also considered, and the best-fit Copula model is used to explain the correlation and risk contagion effect. The findings of the study show that there is weak evidence that the Granger causality between G7 stock markets' volatilities and energies shocks (except the Japanese stock market with energies shocks and the Canadian stock market with oil negative shocks). In addition, the oil market cannot be used as a safe haven for the U.S. and U.K. stock markets, the coal market cannot be a safe haven for the Italian stock market, and the natural gas market can become a safe haven for the stock markets of G7 countries. Finally, there is evidence of tail dependence between the G7 stock market and the negative oil shock, indicating that there is a risk contagion effect between oil and the G7 stock markets. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Analyzing the causality and dependence between energy price and G7 stock markets | en_US |
dc.title.alternative | การวิเคราะห์ความเป็นเหตุเป็นผลและการขึ้นอยู่แก่กันระหว่างราคาพลังงานและตลาดหุ้นจี 7 | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | G7 stock | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Stocks | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Energy – Prices | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์และโครงสร้างการขึ้นอยู่แก่กันของการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของพลังงานและตลาดหุ้นในกลุ่มประเทศจี 7 ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันเชิงบวกและเชิงลบของราคาพลังงานถูกประมาณค่าโดยใช้การทดสอบความเป็นเหตุเป็นผลเกรนเจอร์ภายใต้แบบจำลองเวกเตอร์ออโตรีเกรสซีพและแบบจำลองคอปูลาเพื่อวัดความสัมพันธ์และการแพร่กระจายของผลกระทบระหว่างการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันเชิงบวกและเชิงลบของพลังงานกับความผันผวนของตลาดหุ้นในกลุ่มประเทศจี 7 นอกจากนี้การศึกษานี้ยังได้ใช้แบบจำลองสมูทไดนามิคคอปูลาเพื่ออธิบายโครงสร้างการพึ่งพาแบบไม่เป็นเชิงเส้นตรงและไม่สมมาตรอีกทั้งยังแสดงค่าความสัมพันธ์ส่วนหางชึ่งสะท้อนความเสี่ยงของการแพร่กระจายของผลกระทบได้อีกด้วยเมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาในอดีตที่ผ่านมาการใช้ความสัมพันธ์ส่วนหางเพื่อวัดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงราคาพลังงานต่อตลาดหุ้นในกลุ่มประเทศจี 7 ยังถือได้ว่าเป็นวิธีการใหม่ที่เสนอโดยงานวิจัยฉบับนี้ วัตถุประสงค์อย่างย่อของการศึกษานี้มีดังต่อไปนี้ 1) เพื่อประมาณการขึ้นอยู่แก่กันระหว่างถ่านหินน้ำมันก๊าซธรรมชาติและตลาดหุ้นของประเทศในกลุ่มจี 7 2) เพื่อทดสอบความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของถ่านหินน้ำมันก๊าซธรรมชาติกับความผันผวนของตลาดหุ้นในกลุ่มประเทศจี 7 3) เพื่อตรวจสอบกลไกการแพร่กระจายของความเสี่ยงของถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และความผันผวนในตลาดหุ้นในกลุ่มจี 7ใช้การประมาณค่าความสัมพันธ์ส่วนหาง 7 ระหว่างตัวแปร การศึกษาในครั้งนี้ได้ใช้ข้อมูลรายสัปดาห์ของราคาน้ำมันดิบดับบลิวทีไอ ราคาถ่านหินรอตเตอร์ดัม และราคาก๊าซธรรมชาติของโลกตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2549 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 รวมถึงดัชนีราคาหุ้นที่ของประเทศในกลุ่มจี ของสหรัฐฯ 500 ได้แก่ ดัชนีเอสแอนด์พี 7 ของฝรั่งเศส ดัชนีเอฟที 40 ของเยอรมัน ดัชนีซีเอซี 30 ของญี่ปุ่น ดัชนีดีเอเอ็กซ์ 225 และ ดัชนีนิเคอิของอังกฤษ ดัชนีเอฟที 100 เอสอีเอสอี เอ็มไอบีของอิตาลี และดัชนีเอสแอนพี ทีเอสเอ๊กซ์คอมโพสิตของแคนาดา ด้วยวิธีการนี้จะทำให้ทราบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและการพึ่งพาซึ่งกันและกันระหว่างการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของราคาพลังงานระหว่างประเทศและตลาดหุ้นของประเทศในกลุ่มจี 7 นอกจากนี้ความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นเชิงเส้นตรงระหว่างพลังงานและตลาดหุ้นยังเป็นอีกประเด็นหนึ่งที่งานวิจัยฉบับนี้คำนึงถึงจึงได้เสนอแบบจำลองสมูททรานสิชั่นไดนามิกคอปูลาซึ่งสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของการขึ้นอยู่แก่กันระหว่างพลังงานและความผันผวนของตลาดหุ้นในกลุ่มจี ที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลานอกจากนี้ยังมีการพิจารณาคอปปูล่าในหลากหลายกลุ่มและเลือกใช้คอปปูล่าที่มีเหมาะสมมากที่สุดและนำมาใช้เพื่ออธิบายความสัมพันธ์หรือการแพร่กระจายของผลกระทบผลการศึกษาในครั้งนี้ไม่พบว่ามีความสัมพันธ์ที่เป็นเหตุเป็นผลกันระหว่างการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของราคาพลังงานกับความผันผวนของตลาดหุ้นในกลุ่มจี 7 ในบางช่วงเวลาที่ทำการศึกษานอกจากนี้การศึกษานี้ยังสามารถสังเกตเห็นความสัมพันธ์ที่มากขึ้น ในช่วงวิกฤตการเงินโลกเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาก่อนและหลังของการเกิดวิกฤตดังกล่าว นอกจากนี้ยังพบว่าน้ำมันถ่านหินและก๊าซธรรมชาติเป็นสินทรัพย์ปลอดภัยสำหรับการลงทุนในตลาดหุ้นของญี่ปุ่นเยอรมนีฝรั่งเศสและแคนาดาตามลำดับ ในขณะที่น้ำมันไม่ใช้สินทรัพย์ปลอดภัยในตลาดหุ้นของสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรและถ่านหินก็ไม่เป็นสินทรัพย์ปลอดภัยสำหรับตลาดหุ้นอิตาลี | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621635808 JIA, ZHAOSHUANG.pdf | 2.1 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.