Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78511
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Songsak Sriboonchitta | - |
dc.contributor.advisor | Jianxu Liu | - |
dc.contributor.advisor | Woraphon Yamaka | - |
dc.contributor.author | Wang, Heng | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-19T00:35:18Z | - |
dc.date.available | 2023-07-19T00:35:18Z | - |
dc.date.issued | 2021-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78511 | - |
dc.description.abstract | The sustainability of economic growth cannot surpass the capacity of resources and the environment, so reducing CO2 emissions and improving energy efficiency have always been a priority for developed and developing countries. In the thesis, the study has explored the CO2 emission determinants, agricultural energy efficiency, and energy intensity gap between governments and enterprises. The determinants of CO2 emissions for the countries in Kyoto Protocol have been probed by using Bayesian LASSO regression. It is discovered that energy use and energy efficiency are the most important determinants for carbon dioxide emissions. Economic development and urbanization are two other factors impeding the attainment of emission goal. Then the agricultural energy efficiency and the energy saving potential of emerging economies are evaluated by using stochastic frontier analysis with distance function. According to the classification of the continental and energy-input differences, energy efficiency in Europe is high but in Latin America it is low, and the quantity of energy saving potential in Asia is much more than Europe and Latin America. Additionally, urbanization, GDP per capita and the share of agricultural GDP are conducive for enhancing energy efficiency. Finally, the k-means clustering based two-tier stochastic frontier model is adopted to analyze energy intensity gap between governments and enterprises in developed and developing countries in Kyoto Protocol. The results show that enterprises have greater effect on the energy intensity than governments. The net impact shows significant convergence after Kyoto Protocol took effect in 2005. The influence of governments and enterprises changes distinctively across the different groups of energy resource distribution, technology, economic growth and policy implementation. Developing countries should promote renewable energy use and agricultural machinery automation to reduce the negative impact of urbanization and achieve a balance between economic growth and environmental sustainability. And the governments can use gradient pricing to encourage enterprises and residents to save electricity and heat. Moreover, government expenditure on education should be raised to mitigate CO2 emissions. And financing strategy can indirectly promote the reduction of CO2 emissions by increasing the number of energy-efficient patents, constructing public transportation infrastructure, and providing subsidies of electricity price and public transportation for poor families. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Determinants of CO2 emissions and measurements of energy efficiency and energy intensity gap | en_US |
dc.title.alternative | ปัจจัยที่ส่งผลต่อการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์และการวัดประสิทธิภาพและช่องว่างความเข้มข้นของการใช้พลังงาน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Carbon dioxide | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Carbon dioxide mitigation | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Energy | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ความยั่งยืนของการเติบโตด้านเศรษฐกิจไม่ควรเกินความสามารถในการรองรับทางทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา การวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานของภาคเกษตรกรรม และช่องว่างความเข้มข้นของการใช้พลังงานระหว่างรัฐบาลและภาคเอกชน การวิจัยครั้งนี้ ได้ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สำหรับประเทศที่ตามปรากฎในพิธีสารเกียวโตโดยใช้สมการถดถอยแบบ Bayesian LASSO พบว่าการใช้พลังงานและประสิทธิภาพการใช้พลังงานเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลสูงสุดต่อการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การพัฒนาเศรษฐกิจและการขยายตัวของประเทศเป็นอีกสองปัจจัยหลักที่ขัดขวางการบรรลุเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การประเมินประสิทธิภาพการใช้พลังงานของภาคเกษตรกรรมเละศักยภาพในการประหยัดพลังงานของประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ โดยใช้วิธี stochastic fontier analysis (SFA) และ distance finction เมื่อจำแนกความแตกต่างตามทวีปและพลังงานนำเข้า พบว่าประสิทธิภาพการใช้พลังงานในยุโรปอยู่ในระดับสูง แต่มีระดับต่ำในลาตินอเมริกา และศักยภาพในการประหยัดพลังงานในเอเชีย สูงกว่าในยุโรปและลาตินอเมริกามาก นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยที่เอื้อต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน คือการขยายตัวของเมือง รายได้ประชาชาติเบื้องต้นต่อหัว และสัดส่วนรายได้ประชาชาติเบื้องต้นของภาคเกษตรกรรม ตาม k-means chustering ใช้กรอบของ two-tier stochastic fontier mode! มาวิเคราะห์ ช่องว่างความเข้มข้นของการใช้พลังงานที่รัฐบาลและภาคเอกชนคาดหวังกับปริมาณการใช้พลังงานที่เกิดขึ้นจริงในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา ตามข้อตกลงในพิธีสารเกียวโต ผลการวิจัยพบว่า สถานประกอบการมีผลกระทบต่อความเข้มข้นของการใช้พลังงานมากกว่าทางรัฐบาล โดยผลกระทบมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญหลังจากพิธีสารเกียวโตมีผลบังคับใช้ในปี 2548 มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนอย่างน้อยลงของการจัดสรรทรัพยากรพลังงาน เทคโนโลยี การเติบโตทางเศรษฐกิจ และการดำเนินการตามนโยบาย อิทธิพลของรัฐบาลและสถานประกอบการมีผลกระทบแตกต่างกันอย่างมาก ประเทศกำลังพัฒนาควรส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนและเครื่องจักรการเกษตรแบบอัตโนมัติเพื่อลดผลกระทบด้านลบของการขยายตัวของเมือง และบรรลุความสมดุลระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจและความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม และรัฐบาลสามารถใช้การกำหนดราคาพลังงานตามราคาไล่ระดับการใช้พลังงาน เพื่อส่งเสริมให้วิสาหกิจและผู้อยู่อาศัยประหยัดไฟฟ้า นอกจากนี้ รัฐบาลควรเพิ่มรายจ่ายด้านการศึกษา การพัฒนาทางการเงิน สามารถส่งเสริมการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทางอ้อม โดยการเพิ่มจำนวนสิทธิบัตร ประหยัดพลังงาน การสร้างโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งสาธารณะ และการจัดหาเงินอุดหนุนค่าไฟฟ้าและการขนส่งสาธารณะสำหรับครอบครัวที่ยากจน | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611655804 WANG, HENG.pdf | 37.81 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.