Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.advisorจารุณี ทิพยมณฑล-
dc.contributor.authorวินิตตา หาญใจen_US
dc.date.accessioned2023-07-15T06:33:33Z-
dc.date.available2023-07-15T06:33:33Z-
dc.date.issued2022-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78497-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study the online cooperative learning innovation in history to promote creative community resource management skills of high school students, to develop the lesson plans of online cooperative learning innovation in history to promote creative community resource management skills of high school students, and to study the results of using the lesson plans of online cooperative learning innovation in history to promote creative community resource management skills of high school students. The sample comprised 2 groups; The head of Social Studies department and teachers and the people who are relevant to the study area (15) obtained by using the purposive sampling method, and the 30 Matthayom 5 students who enrolled in the History subject. The research instruments included the document analysis form of the online cooperative learning management, a questionnaire titled the online cooperative learning management, a non-structure interview titled the promote creative community resource management skills, an evaluation form of learning innovation, an evaluation form of creative community resource management skills, and a satisfaction survey form after the implementation. Methods for data analysis included mean (x ̅), standard deviation (S.D.), and content analysis. The results revealed that Online Cooperative Learning Innovation in History to Promote Creative Community Resource Management Skills of High School Students consisted of 4 steps called “PROE”; plan, relate, organize, and evaluate. The lesson plans of Online Cooperative Learning Innovation in History to Promote Creative Community Resource Management Skills of High School Students consisted of 4 units which are “Who created civilization?”, “Who owned new society?”, “Who made change of the society?”, and “The faith belonged to whom?”. The overall results were very high; learning process, teaching materials, learning standard, evaluation and measurement, and the core subject. The results of using of Online Cooperative Learning Innovation in History to Promote Creative Community Resource Management Skills of High School Students with the sample group during 12 hours and the evaluation of creative community resource management skills. It was found that the students were able to create the History Conceptual and have the highest level in community resource management skills which consisted of 1) learners were able to evaluate the importance, value, and ability of community resource. 2)learners were able to make a decision in which beneficial for community resource. 3)learners were able to present an accurate data about community resource via the digital platform. The evaluation form after the implementation was shown that the students had the highest level of satisfaction in 2 categories which included teacher intended and gave a chance for them to share their individual opinions and the media was suitable for online learning management.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleนวัตกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แบบร่วมมือออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายen_US
dc.title.alternativeOnline cooperative learning innovation in history to promote creative community resource management skills of high school studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashนวัตกรรมทางการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashนักเรียน -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashการจัดการทรัพยากร-
thailis.controlvocab.thashสื่ออิเล็กทรอนิกส์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัย 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แบบร่วมมือออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) เพื่อสร้างนวัตกรรมแผนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แบบร่วมมือออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3) เพื่อศึกษาผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แบบร่วมมือออนไลน์ที่ส่งเสริมทักษะการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวอย่างการวิจัยมี 2 กลุ่มคือ 1. ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชนที่ศึกษา จำนวน 15 คน โดยการเลือกอย่างเจาะจง (Purposive Sampling) และ 2.นักเรียนที่ศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาประวัติศาสตร์ จำนวน 30 คน ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบวิเคราะห์เอกสารเกี่ยวกับแนวทางการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แบบร่วมมือออนไลน์ 2) แบบสอบถาม เรื่อง แนวทางการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แบบร่วมมือออนไลน์ 3) แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง เรื่อง แนวทางการส่งเสริมทักษะการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงสร้างสรรค์ 4) แบบประเมินความเหมาะสมของนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 5) แบบประเมินทักษะการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงสร้างสรรค์ 6) แบบสอบถามความพึงพอใจหลังเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แนวทางการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แบบร่วมมือออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน เรียกว่า “PROE” ได้แก่ 1. วางแผน กำหนดเป้าหมาย (Plan) 2. สร้างความสัมพันธ์โดยการลงมือปฏิบัติร่วมกันโดยกระบวนการกลุ่ม (Relate) 3. จัดระเบียบ ทำให้เป็นระบบ (Organize) 4. ประเมินผล (Evaluate) 2. การสร้างแผนนวัตกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แบบร่วมมือออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ “PROE” ประกอบด้วย 4 หน่วยการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ได้แก่ 1) อารยธรรมใด ใครสร้าง? 2) สังคมใหม่เป็นของใคร? 3) ใครทำให้สังคมเปลี่ยนแปลง? 4) ความศรัทธาเป็นของใคร? ผลการประเมินในภาพรวมมีความเหมาะสมรวมทั้ง 5 ด้านอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ 1) ด้านกระบวนการเรียนรู้ 2) ด้านสื่อการเรียนรู้ 3) ด้านมาตรฐานการเรียนรู้ 4) ด้านวัดผลและประเมินผล และ 5) ด้านสาระการเรียนรู้ 3. ผลการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แบบร่วมมือออนไลน์ที่ส่งเสริมทักษะการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จากการทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 12 ชั่วโมง และประเมินทักษะการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงสร้างสรรค์ พบว่านักเรียนเกิดความคิดรวบยอดทางประวัติศาสตร์ History Conceptual เกิดทักษะการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงสร้างสรรค์อยู่ในระดับมากที่สุดจำนวน 3 ประเด็น ได้แก่ 1)ผู้เรียนสามารถประเมินความสำคัญ คุณค่าและศักยภาพของทรัพยากรในชุมชน 2)ผู้เรียนสามารถตัดสินใจเลือกกระทำสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อทรัพยากรชุมชน 3)ผู้เรียนสามารถนำเสนอข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับทรัพยากรชุมชนผ่านสื่อดิจิทัล ส่วนการประเมินความพึงพอใจหลังการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด 2 ด้าน ได้แก่ 1) ครูรับฟังและเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ และ 2) สื่อเหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630232045 วินิตตา หาญใจ.pdf5.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.