Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78492
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหรรษา เศรษฐบุปผา-
dc.contributor.advisorภัทราภรณ์ ภทรสกุล-
dc.contributor.authorธนภร แสงสุริยากาศen_US
dc.date.accessioned2023-07-15T05:55:24Z-
dc.date.available2023-07-15T05:55:24Z-
dc.date.issued2022-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78492-
dc.description.abstractDepression is a problem that can lead to impairments in daily life and suicide. This operational research aimed to study the effectiveness of using a Cognitive Behavioral Therapy Multi-Channel Program for persons with depression receiving services at Bantalad Thambon Health Promoting Hospital, Chiang Mai province. The samples included 1) twenty persons with mild to moderate depression receiving services at the hospital between May to July 2021, and 2) five professional nurses. The instruments used consisted of 1) the Thai version of the 9-question Depression Assessment Form (Thai PHQ-9), 2) the Cognitive Behavioral Therapy Multi-Channel Program for people with depression, 3) a questionnaire on patient satisfaction after program implementation, and 4) a questionnaire on the health team personnel’s satisfaction with using the program. Data were analyzed using descriptive statistics. The results showed that: 1. After receiving the program, 90% of the samples reported a decrease in their depression score from mild to moderate depression to no depression. After receiving the program for two weeks, all 100 percent of the samples reported no depression. 2. Most of them had satisfaction at the highest level regarding the appropriateness of time spent on each therapy session, the suitability of all nine sessions used in therapy, the suitability of the activities performed each time, and overall satisfaction with the treatment. 3. All health team personnel working in caring for persons with depression using the program agreed that the program benefited patient care can be combined with prior knowledge of patient care, is easy to implement, provides clearly visible results, and has a concrete implementation process. The results showed that using the Cognitive Behavioral Therapy Multi-Channel Program for persons with depression was effective in reducing depression among those who were receiving services at the hospital. It also helped encourage those with depression to receive full treatment. Therefore, this program should be used to care for persons with depression in routine work.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบหลายช่องทางในผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลาด จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe effectiveness of implementing a cognitive behavioral therapy multi-channel program among persons with depression receiving services at Bantalad Thambon Health Promoting hospital, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashความซึมเศร้า-
thailis.controlvocab.thashบุคคลซึมเศร้า-
thailis.controlvocab.thashการปรับพฤติกรรม-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมบำบัด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะซึมเศร้าเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดความบกพร่องในการดำเนินชีวิตประจำวันและอาจนำไปสู่การฆ่าตัวตายได้ การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลการใช้โปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบหลายช่องทางในผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลาด จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ 1) ผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าในระดับเล็กน้อยถึงปานกลางที่มารับบริการที่โรงพยาบาลในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึง กรกฎาคม 2564 จำนวน 20 ราย และ 2) พยาบาลวิชาชีพจำนวน 5 ราย เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 9 คำถาม ฉบับภาษาไทย 2) โปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบหลายช่องทางในผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าภายหลังที่ได้รับโปรแกรม และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของบุคลากรทีมสุขภาพต่อการใช้โปรแกรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า 1. หลังจากได้รับโปรแกรมฯ กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนซึมเศร้าลดลงจากระดับเล็กน้อยจนถึงปานกลางเป็นไม่มีภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 90 และหลังสิ้นสุดโปรแกรมแล้ว 2 สัปดาห์ ไม่มีภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 100 2. ความพึงพอใจของผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าต่อการได้รับโปรแกรมฯ พบว่า 1) ด้านการมีประโยชน์ต่อการลดภาวะซึมเศร้า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมาก 2) ด้านความพึงพอใจต่อพยาบาลผู้ให้การบำบัด ด้านความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการบำบัดแต่ละครั้ง ด้านความเหมาะสมของเวลาทั้งหมด 9 ครั้งที่ใช้ ด้านความเหมาะสมของกิจกรรมที่ให้ทำในแต่ละครั้ง และ ความพึงพอใจภาพรวมในการบำบัด ส่วนใหญ่พึงพอใจในระดับมากที่สุด 3. ความคิดเห็นของบุคลากรทีมสุขภาพที่ปฏิบัติงานดูแลผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าต่อการใช้โปรแกรมฯ ทุกคนมีความเห็นว่าโปรแกรมมีประโยชน์ในการดูแลผู้ป่วยสามารถผสมผสานกับความรู้เดิมในการดูแลผู้ป่วย ง่ายต่อการนำไปปฏิบัติ สามารถมองเห็นผลได้อย่างชัดเจนจากการนำโปรแกรมไปทดลองปฏิบัติ และมีกระบวนการในการนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบหลายช่องทางในผู้ที่มีภาวะซึมเศร้ามีประสิทธิผลในการช่วยลดภาวะซึมเศร้าในผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าที่มารับบริการได้และยังช่วยส่งเสริมให้ผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการบำบัดจนครบตามจำนวน อำนวยความสะดวกในเรื่องการเดินทางและค่าใช้จ่าย ดังนั้นควรจะมีการนำไปใช้ในการดูแลผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าในงานประจำต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611231076-ธนภร แสงสุริยากาศ.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.