Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78440
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSomkiat Intasingh-
dc.contributor.advisorNatad Assapaporn-
dc.contributor.advisorSunee Nguenyuang-
dc.contributor.authorNawaporn Chalaruxen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T11:13:55Z-
dc.date.available2023-07-11T11:13:55Z-
dc.date.issued2021-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78440-
dc.description.abstractThe purposes of this research and development were to develop and study the effects of implementing an instructional model by integrating phenomenon-based learning and logical framework to promote systematic thinking skill and innovative teacherness for pre-service teachers. The researcher proceeded according to the research and development methodology in 4 processes consist of: 1) Studying relevant data for designing and developing the instructional model 2) Designing the instructional model. The target group who evaluated the quality of model was 5 qualified experts. Research tools were the assessment form of quality testing of the instructional model. Data were analyzed by using mean and standard deviation 3) Implementing the instructional model with sample group of 33 second year undergraduate students from elementary education who enrolled in EED 4223 Developing Thinking Skills course. They were chosen by cluster random sampling. The research tools were the systematic thinking skills assessment form and innovative teacherness assessment form. The gathered data were analyzed by using mean, standard deviation and mean difference tests with statistical t-test at the significance level of .05 4) Evaluating the instructional model. The data were compared before and after learning at the .05 level of significance. Research findings revealed that 1. The instructional model developed by the researcher consisted of 7 compositions including 1) principles of the instructional model 2) purposes of the instructional model 3) instructional management procedures in 6 steps - considering phenomenon (CP), analyzing related contents (AC), synthesizing the system thinking (SST), creating the innovation (CI), implementing the innovation (II), and evaluating and criticizing the innovation (ECI) 4) role of the learners 5) role of the instructors 6) instructional media and learning resources and 7) evaluation. The overall assessment of quality test of the curriculum was at the highest level of accuracy and propriety (mean 4.78). 2. Results of instructional model implementation revealed that after learning the systematic thinking skills and innovative teacherness were higher than prior to learning. It was statistically significant at the .05 level.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of an instructional model by integrating phenomenon-based learning and logical framework to promote systematic thinking skill and innovative teacherness for pre-service teachersen_US
dc.title.alternativeการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการการเรียนรู้ที่ใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานและกรอบคิดเชิงเหตุผลเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างเป็นระบบและความเป็นครูนักนวัตกรสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEducation -- Study and teaching-
thailis.controlvocab.lcshStudent teaching-
thailis.controlvocab.lcshStudent teachers-
thailis.controlvocab.lcshThought and thinking-
thailis.controlvocab.lcshThinking skill-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียน การสอนโดยบูรณาการการเรียนรู้ที่ใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานและกรอบคิดเชิงเหตุผลเพื่อส่งเสริมทักษะ การคิดอย่างเป็นระบบและความเป็นครูนักวัตกรสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู ผู้วิจัยได้ดำเนินการ ตามระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนาใน 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญสำหรับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบรูปแบบการเรียนการสอน กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยขั้นตอนนี้ คือ แบบประเมินคุณภาพของรูปแบบ การเรียนการสอน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 3 การนำรูปแบ การเรียนการสอนไปใช้ โดยผู้วิจัยดำเนินการใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นในรายวิชา EED 4223 การพัฒนาทักษะการคิด หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา ภาคการศึกษา ที่ 2 ปีการศึกษาที่ 2563 ตัวอย่าง คือ นักศึกษาสาขาวิชาประถมศึกษา ที่ลงทะเบียนเรียน จำนวน 1 หมู่การเรียน รวม 33 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม โดยมีหมู่การเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม การ เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งก่อนและหลังการใช้รูปแบบการเรียนการสอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ได้แก่ แบบวัดทักษะการคิดอย่างเป็นระบบและแบบประเมินความเป็นครูนักนวัตกร วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติทดสอบ เ เปรียบเทียบผล ก่อนเรียนและหลังเรียน ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอน นำข้อมูล คะแนนทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ และข้อมูลกะแนนประเมินคุณลักษณะความเป็นครูนักนวัตกร ของตัวอย่างมาเปรียบเทียบก่อนเรียนและหลังเรียนที่ระดับนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. รูปแบบการเรียนการสอนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีทั้งหมด 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการของรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) กระบวนการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย 6 ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ 1 ขั้นพิจารณาปรากฏฎการณ์ ขั้นที่ 2 ขั้นวิเคราะห์สาระที่เกี่ยวข้อง ขั้นที่ 3 ขั้นสังเคราะห์ระบบความคิด ขั้นที่ 4 ขั้นสร้างนวัตกรรม ขั้นที่ : ขั้นนำนวัตกรรมไปใช้ และ ขั้นที่ 6 ขั้นประเมินผลและวิพากษ์นวัตกรรม 4 บทบาทผู้สอน 5) บทบาทผู้เรียน 6) สื่อการเรียนการสอนและ แหล่งการเรียนรู้ และ 7) การประเมินผล การประเมินคุณภาพของรูปแบบการเรียนการสอนใน ภาพรวมมีความถูกต้องและความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.78) 2. ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนฯ พบว่า หลังเรียนนักศึกษามีทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบและความเป็นครูนักนวัตกรสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610252004 นวพร ชลารักษ์.pdf2.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.