Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78439
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSakda Swathanan-
dc.contributor.advisorUraiwan Hanwong-
dc.contributor.advisorNampueng Intanate-
dc.contributor.authorKuttiya Piyarungsien_US
dc.date.accessioned2023-07-11T11:11:19Z-
dc.date.available2023-07-11T11:11:19Z-
dc.date.issued2021-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78439-
dc.description.abstractThe objectives of this research and development were 1) to analyze the indicators of attributes of the young innovator students, 2) to create the model for promoting students to be young innovators, 3) to study the results in applying the model for promoting students to be young innovators. The 1st process was to analyze the indicators of attributes of the young innovator students. The population providing information for synthesizing the indicators was obtained from purposive sampling for a total of 7 persons. The tools used in the data collection were questionnaires on the opinion of experts about the verification on the conformity and the appropriateness of the indicators of attributes of the young innovator students. The analysis was conducted on the consistency, mean, and standard deviation. The 2nd process was to create the model for promoting students to be young innovators. The target group consisted of 1) 5 experts who examined the model and 2) 5 experts who evaluated the model. The population used in the experiment preliminarily consisted of a total of 15 students who were selected to enter the model. The tools used in collecting the data consisted of 6 editions; 1) questionnaire on the opinion to draft the model for promoting students to be young innovators, 2) evaluation form on the quality of the model for promoting students to be young innovators, 3) evaluation form on the quality of teaching plan of the model for promoting students to be young innovators, 4) evaluation form on the attributes of young innovators, 5) innovation evaluation form, 6) questionnaire on the student's opinion. The data were analyzed on the consistency and appropriateness. The mean and standard deviation were also analyzed. The 3nd process was to study the results of applying the model for promoting students to be young innovators. The population consisted of 15 students who were selected to enter the model. The tools used in collecting the data consisted of 3 editions; 1) questionnaire on the attributes of young innovators, 2) innovation evaluation form, 3) questionnaire on the student's opinion in employing the model. The data were analyzed with the mean and standard deviation. The research results could be summarized as follows: 1. There were 7 indicators of attributes of the young innovator students including 1) Creative play, 2) Inspiration, 3) Observant to see problem, 4) Seeking knowledge and doing experiment, 5) Creative thinking, 6) Commitment to continuous work, 7) Ability to work in team appropriately. The mean was 3.86 while the standard deviation was 1.44. 2. The model for promoting students to be young innovators was the promoting and teaching model. There were 7 elements of the model including 1) principles of the model, 2) objectives of the model, 3) theory used in the model, 4) process of the model. There were 5 model process, one of which was the promoting process including 4.1) process to promote the role of young innovator creators and the 4 main processes in student development. The four main processes consisted of 4.2) process of selecting students into the model, 4.3) process to promote students' understanding in the attributes of young innovators, 4.4) process to promote innovation. There were 5 steps in this process including 4.4.1) identifying problem situation that would create innovation, 4.4.2) collecting and linking the data related with the creation of innovation, 4.4.3) designing the methods for creating innovation, 4.4.4) creating, test, and evaluate innovation, 4.4.5) presenting the innovation results called in this step as PRICP and 4.5) young innovator assessment process, 5) role of those involving in the model, 6) activities and materials supplementary to the model, 7) evaluation of the model. 3. The results of experiment on the model for promoting students to be young innovators revealed that after using the model, all indicators of young innovator's attributes were higher than before using the model. After applying the model, the overall students' attributes at the Young Innovators level had the mean of 4.20 and standard deviation of 0.70. Student innovation scores in all three aspects were good having the mean of 4.48 and standard deviation of 0.29. Regarding the opinions of students on the application of Model for Promoting Students to be Young Innovators, it was found that the satisfaction with the use of Model for Promoting Students to be Young Innovators was entirely at the highly agreeable level having the mean of 4.63 and standard deviation of 0.14.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectYoung Innovatoren_US
dc.titleThe Model for promoting students to be young innovatorsen_US
dc.title.alternativeรูปแบบการส่งเสริมนักเรียนเพื่อการเป็นนวัตกรรุ่นเยาว์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshStudents -- Rating of-
thailis.controlvocab.lcshGrading and marking (Students)-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์ตัวบ่งชี้คุณลักษณะของนวัตกรรุ่น เยาว์ของนักเรียน 2) เพื่อสร้างรูปแบบการส่งเสริมนักเรียนเพื่อการเป็นนวัตกรรุ่นเยาว์ 3) เพื่อศึกษา ผลของ การใช้รูปแบบการส่งเสริมนักเรียนเพื่อการเป็นนวัตกรรุ่นเยาว์ ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์ตัวบ่งชี้คุณลักษณะของนวัดกรรุ่นเยาว์ของนักเรียน ประชากรที่ให้ ข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ตัวบ่งชี้ ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง รวมทั้งสิ้น 7 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการตรวจสอบความสอดคล้อง และความเหมาะสมของตัวบ่งชี้คุณลักยณะของนวัตกรรุ่นเยาว์ของนักเรียน โดยใช้การวิเคราะห์ ความสอดคล้อง วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 สร้างรูปแบบการ ส่งเสริมนักเรียนเพื่อการเป็นนวัตกรรุ่นเยาว์ กลุ่มเป้าหมายได้แก่ 1) ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบร่าง รูปแบบ 5 ท่าน 2) ผู้เชี่ยวชาญประเมินรูปแบบ จำนวน 5 ท่าน ประชากรในการทคลอง เบื้องต้น ประกอบด้วย นักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าสู่รูปแบบจำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล มี 6 ฉบับ ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามความคิดเห็นเพื่อร่างรูปแบบการส่งเสริม นักเรียนเพื่อการเป็นนวัตกรรุ่นเยาว์ 2) แบบประเมินคุณภาพรูปแบบการส่งเสริมนักเรียนเพื่อการ เป็นนวัตกรรุ่นเยาว์ 3) แบบประเมินคุณภาพแผนการสอน ประกอบรูปแบบการส่งเสริมนักเรียนเพื่อ การเป็นนวัตกรรุ่นเยาว์ 4) แบบประเมินคุณลักษณะของนวัตกรรุ่นเยาว์ 5) แบบประเมินนวัตกรรม 6) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์ความสอดคล้อง ความ เหมาะสม แล้ววิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และขั้นตอนที่ 3 ศึกษาผลของการใช้ รูปแบบการส่งเสริมนักเรียนเพื่อการเป็นนวัตกรรุ่นเยาว์ ประชากร ได้แก่ นักเรียนที่ผ่านการคัดเลือก เข้าสู่รูปแบบจำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มี 3 ฉบับ ประกอบด้วย 1) แบบ ประเมินคุณลักษณะของนวัตกรรุ่นเยาว์ 2) แบบประเมินนวัตกรรม 3) แบบสอบถามความคิดเห็น ของนักเรียนต่อการใช้รูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดย วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ตัวบ่งชี้คุณลักษณะของนวัดกรรุ่นเยาว์ของนักเรียน มีทั้งหมด 7 ตัวบ่งชี้คือ 1) เล่นเชิง สร้างสรรค์ 2) มีแรงบันดาลใจ 3) ช่างสังเกต สามารถมองเห็นปัญหา 4) การแสวงหาความรู้ และทำ การทดลอง 5) คิดริเริ่มสร้างสรรค์ 6) มุ่งมั่น และปฏิบัติงานต่อเนื่อง 7) ความสามารถในการทำงาน ร่วมกับผู้อื่น โดยมีความเหมาะสม มีค่ารวมเฉลี่ย 3.86 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.44 2. รูปแบบการส่งเสริมนักเรียนเพื่อการเป็นนวัตกรรุ่นเยาว์เป็นรูปแบบส่งเสริมและ รูปแบบการสอน มีองค์ประกอบของรูปแบบ 7 องค์ประกอบ 1) หลักการของรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) ทฤษฎีที่ใช้ในรูปแบบ 4) กระบวนการของรูปแบบ ในกระบวนการ ของรูปแบบประกอบไปด้วย 5 กระบวนการ ซึ่งจะมี 1. กระบวนการส่งเสริม คือ 4.1) กระบวนการ ส่งเสริมบทบาทของผู้มีส่วนร่วมสร้างนวัตกรรุ่นเยาว์ และ 4 กระบวนการหลักในการพัฒนา นักเรียน กระบวนการหลักทั้ง 4 ประกอบด้วย 4.2) กระบวนการคัดเลือกนักเรียนเข้าสู่รูปแบบ 4.3) กระบวนการส่งเสริมความเข้าใจ ของนักเรียน ในคุณลักษณะของนวัตกรรุ่นเยาว์ 4.4) กระบวนการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม โดยกระบวนการนี้จะมีทั้งหมด s ขั้นตอน คือ 4.4.1) ระบุสถานการณ์ปัญหาที่จะสร้างนวัตกรรม 4.4.2) รวบรวมและเชื่อมโยงข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับการ สร้างนวัตกรรม 4.4.3) ออกแบบวิธีการในการสร้างนวัตกรรม 4.4.4) สร้างนวัตกรรม ทดสอบ และ ประเมินผลนวัตกรรม 4.4.5) นำเสนอผลการสร้างนวัตกรรม จะแทนการเรียกชื่อในขั้นตอนนี้ ด้วย คำว่า PRICP และ 4.5) กระบวนการประเมินนวัตกรรุ่นเยาว์ 5) บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบ 6) กิจกรรมและสื่อประกอบรูปแบบ 7) การประเมินผลของรูปแบบ 3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการส่งเสริมนักเรียนเพื่อการเป็นนวัตกรรุ่นเยาว์ พบว่า หลังการใช้รูปแบบ ทุกตัวชี้วัดของคุณลักษณะนวัตกรรุ่นเยาว์สูงกว่าก่อนการใช้ทุกตัวชี้วัด โดยหลัง การใช้รูปแบบภาพรวมนักเรียนมีคุณลักษณะในระดับ Young Innovators โดยมีค่าเฉลี่ย 4.20 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.70 นวัตกรรมของนักเรียนะแนนรวมทั้งสามค้านอยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ย 4.48 ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน 0.29 ความคิดเห็นของนักเรียนต่อการใช้รูปแบบการส่งเสริมนักเรียน เพื่อการเป็นนวัตกรรุ่นเยาว์พบว่า ความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการส่งเสริมนักเรียนเพื่อการ เป็นนวัตกรรุ่นเยาว์ ภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง และมีค่าเฉลี่ย 4.63 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.14en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610252002 ขัติยา ปิยะรังษี.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.