Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78428
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐวุฒิ อรินทร์-
dc.contributor.authorศุภสิทธิ์ เกียรติพัฒนานนท์en_US
dc.date.accessioned2023-07-11T10:19:35Z-
dc.date.available2023-07-11T10:19:35Z-
dc.date.issued2564-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78428-
dc.description.abstractThis research aimed to study the structural causal relationship of family relationship and empathy on prosocial behavior with helping attitude as a mediator. The sample consisted of 345 undergraduate students in Chiang Mai University who were selected using the purposive sampling method. The data was collected using questionnaires on family relationship, empathy, helping attitude, and prosocial behavior. The statistics used for data analysis were descriptive statistics, including, frequency, percentage, mean, and standard deviation. The structural equation modeling analysis in a form of path analysis using the maximum likelihood estimation method was also employed. The findings showed that the modified model fit the empirical data (X2 =1.273, df = 1, X2/df = 1.273, p-value = .259, GFI = ,998, CFI = .999, NFI = .997, RMSEA = .028). Family relationship and empathy, with helping attitude as a mediator, showed indirect positive effect towards prosocial behavior with the influence coefficients at . 271 and . 250 respectively. Moreover, helping attitude had direct positive effect on prosocial behavior with the influence coefficients at .500. In addition, it was found that family relationship had a direct positive effect towards empathy with the influence coefficient at .487.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของสัมพันธภาพในครอบครัวและการเข้าถึงใจที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเอื้ออสังคมโดยมีทัศนคติต่อการช่วยเหลือสังคมเป็นตัวแปรคั่นกลางของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาen_US
dc.title.alternativeStructural causal relationships of family relationship and empathy on prosocial behavior with helping attitude as a mediator in undergraduate studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- นักศึกษา-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษา -- ทันศนคติ-
thailis.controlvocab.thashการประเมินพฤติกรรม-
thailis.controlvocab.thashการประเมินครอบครัว-
thailis.controlvocab.thashครอบครัว-
thailis.controlvocab.thashสัมพันธภาพ-
thailis.controlvocab.thashการร่วมรู้สึก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของสัมพันธภาพใน ครอบครัวและการเข้าถึงใจที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเอื้อสังคมโดยมีทัศนคติต่อการช่วยเหลือสังคมเป็นตัว แปรคั่นกลาง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 345 คน โดย ใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบวัค สัมพันธภาพในครอบครัว แบบวัดการเข้าถึงใจ แบบวัดทัศนคติทัศนคติต่อการช่วยเหลือสังคม และ แบบวัดพฤติกรรมเอื้อสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการ โครงสร้างเชิงเส้น ในลักษณะของการวิเคราะห์ เส้นทาง ด้วยเทคนิคการหาค่าประมาณความเป็นไปได้สูงสุด ผลการวิจัย พบว่า แบบจำลองที่ปรับแก้มีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X2 = 1.273,Type equation here. df= 1, X2/ df= 1.273, p-value = .259, GFI = .998, CFI = .999, NFI = .997, RMSEA = .028) โคยสัมพันธภาพในครอบครัวและการเข้าถึงใจมีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกต่อพฤติกรรมเอื้อสังคมผ่าน ทัศนคติต่อการช่วยเหลือสังคม มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ .271 และ .250 ตามลำดับ ทัศนคติต่อ การช่วยเหลือสังคมมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อพฤติกรรมเอื้อสังคม มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพล เท่ากับ .500 และงานวิจัยครั้งนี้ ยังพบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวนั้นมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อ การเข้าถึงใจ โดยมีค่าส้มประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ .487en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.