Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78399
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Napaporn Reeveerakul | - |
dc.contributor.advisor | Yacine Ouzrout | - |
dc.contributor.advisor | Ratapol Wudhikarn | - |
dc.contributor.author | Siraprapa Wattanakul | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-09T06:46:02Z | - |
dc.date.available | 2023-07-09T06:46:02Z | - |
dc.date.issued | 2022-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78399 | - |
dc.description.abstract | With global port traffic having quadrupled in 20 years from 200 million to 800 million containers, controlling the performance of sea freight is proving to be crucial for world trade but delicate. The port, or container terminal, is the basic unit of the global maritime freight network and the hub of interactions where the impact of uncertainties is accrued. The United Nations Conference on Trade and Development has highlighted the diversity of these uncertainties in 2020. The sooner the impact is quantified, the better the reaction. Thus, the work carried out aims at predicting as soon as possible the impact of hazards on the respect of initial objectives. A state of the art on port resource planning has shown the difficulty in formalizing the relationship between the duration of operations and uncertainties. Faced with these limitations, the developed approach based on knowledge engineering proposes first of all an approach to build a digital twin of a container terminal. This digital twin is then exploited to build a prediction model of LSTM time series. The first set of experiments shows that the proposed inference is applicable for learning and predicting port operations. The second set of experiments shows the use of a multi-step LSTM time series prediction model. With periodically renewed predictions, the operations manager of a container terminal will continuously visualize the evolution of the operations schedule, including possible deviations between the initially planned end date and the predicted one based on the actual data at the considered time. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Digital twin for decision making to manage port operation with uncertainties: a knowledge approach based on machine learning | en_US |
dc.title.alternative | ดิจิตัลทวินสำหรับช่วยตัดสินใจเพื่อจัดการปฏิบัติการของท่าเรือที่มีความไม่แน่นอน: วิธีการใช้องค์ความรู้จากการเรียนรู้โดยเครื่องมือปัญญาประดิษฐ์ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Harbors | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Harbors -- Management | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Navigation | - |
thailis.controlvocab.thash | Artificial intelligence | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ด้วยปริมาณการขนส่งของท่าเรือทั่วโลกเพิ่มขึ้นสี่เท่าใน 20 ปีจาก 200 ล้านเป็น 800 ล้านตู้คอนเทนเนอร์ ชัดเจนว่าการควบคุมประสิทธิภาพการขนส่งสินค้าทางทะเลว่ามีความสำคัญต่อการค้าโลก แต่ยังคงมีความอ่อนไหวในการขนส่ง ท่าเรือหรือท่าเทียบเรือตู้สินค้าเป็นหน่วยพื้นฐานของเครือข่ายการขนส่งสินค้าทางทะเลทั่วโลกและเป็นศูนย์กลางของการปฏิสัมพันธ์ที่ได้รับผลกระทบของความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้น อีกทั้งการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนาได้เน้นย้ำถึงความหลากหลายของความไม่แน่นอนเหล่านี้ในปีพ.ศ. 2563 ยิ่งวัดผลกระทบได้เร็ว การรับมือกับสถานการณ์ก็จะยิ่งดีขึ้นเท่านั้น ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อคาดการณ์ผลกระทบของความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ การวางแผนทรัพยากรท่าเรือในปัจจุบันแสดงให้เห็นว่าการระบุความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาการดำเนินงานและความไม่แน่นอนให้เป็นแบบแผนยังคงมีความยากลำบาก เพื่อเผชิญกับข้อจำกัดเหล่านี้ งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาพัฒนาและเสนอแนวทางบนพื้นฐานของวิศวกรรมความรู้ในการสร้างดิจิทัลทวินของท่าเทียบเรือคอนเทนเนอร์ ดิจิทัลทวินนี้ถูกใช้เพื่อสร้างแบบจำลองการทำนายของอนุกรมเวลา LSTM การทดลองชุดแรกแสดงให้เห็นว่าการอนุมานที่เสนอนั้นใช้ได้กับการเรียนรู้และทำนายการทำงานของท่าเทียบเรือ การทดลองชุดที่สองแสดงการใช้แบบจำลองการทำนายอนุกรมเวลา LSTM แบบหลายขั้นตอน ด้วยการคาดการณ์ที่ต่อเนื่องผู้จัดการของท่าเทียบเรือจะเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของตารางการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง รวมถึงความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
592151005_Siraprapa_Wattanakul.pdf | 17.23 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.