Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78396
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorRuetinan Samuttai-
dc.contributor.advisorRatchaneekorn Tongsookdee-
dc.contributor.advisorRajchukarn Tongthaworn-
dc.contributor.authorAtitaya Inyongen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T06:01:51Z-
dc.date.available2023-07-09T06:01:51Z-
dc.date.issued2022-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78396-
dc.description.abstractThe research objectives were 1) to develop a learning experience provision model based on place-based education approaches to enhance early childhood children' environmental literacy and 2) to study the consequences of using a learning experience provision model based on place-based education approaches to enhance early childhood children’s environmental literacy. This research, additionally, was divided into 2 phases according to the research objectives and consisted of 2 sample groups. The first one was the sample group used for model development, namely 551 school administrators, and preschool teachers from schools in the upper northern region of 8 provinces which were selected by multi-stage sampling. Furthermore, the second one was the sample group used for model experiment, namely representatives from 3 schools under the Primary Educational Service Area Office, 1 school under the Office of the Private Education Commission, and 1 school under the Local Government Organization. In addition, the research tool was a questionnaire and the data was analyzed by using frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation. The model’s construct validity was also examined by using the second order confirmatory factor analysis with Mplus Version 7.4 program. The research results can be summarized as follows: 1. The learning experience provision model based on the place-based education approaches to enhance early childhood children’s environmental literacy which is developed from a causal relationship model of early childhood children’s environmental literacy appears in line with empirical data. It is determined from the chi-square test (2) = 101.49, degree of freedom (df) = 83, probability (p) = 0.08, Goodness of Fit Index (GFI) = 0.99, and Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA) = 0.01 consisting of 6 components, namely 1) Goal, 2) Context, 3) Input, 4) Process, 5) Output, and 6) Feedback. Additionally, the procedures of learning experience provision based on the place-based education approaches that were developed for early childhood children’s learning experience provision comprised of 5 steps, namely, step 1: Exploring environment and linking experiences, step 2: Searching for knowledge, step 3: Reflecting ideas, step 4: Considering to perform well, and step 5: Presenting information and applying them. 2. The consequences of using the learning experience provision model based on the place-based education approaches to enhance early childhood children’s environmental literacy of 5 sample schools reveal that schools can implement following the model for enhancing early childhood children’s environmental literacy based on the place-based education approaches. The schools’ environmental management, teachers’ learning experience provision to enhance early childhood children’s environmental literacy, and children’s learning behaviors are all at the highest level (x ̅=4.53). The users are of the opinion that the model is useful, possible, appropriate, and accurate at the highest level (x ̅=4.46, x ̅=4.70, x ̅=4.53, and x ̅=4.68 respectively). Moreover, after testing the model used in all schools’ samples, it is found that the average level of early childhood children’s environmental literacy increases from moderate (x ̅=1.09) to high level (x ̅=1.85).en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of learning experience provision model applying place-based education approach to enhance environmental literacy of early childhood childrenen_US
dc.title.alternativeการพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาอิงสถานที่ เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อมของเด็กปฐมวัยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshStudent activities-
thailis.controlvocab.lcshPlace-based education-
thailis.controlvocab.lcshEnvironmental education-
thailis.controlvocab.lcshEnvironmental education -- Study and teaching (Early childhood)-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาอิงสถานที่เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อมของเด็กปฐมวัย และ 2) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาอิงสถานที่เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อมของเด็กปฐมวัย การดำเนินการวิจัยมี 2 ระยะ ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยมี 2 กลุ่ม คือกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการพัฒนารูปแบบ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยในโรงเรียนพื้นที่ภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด จำนวน 551 คน ที่ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองใช้รูปแบบ ได้แก่ ตัวแทนของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 3 โรงเรียน โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 1 โรงเรียน และโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของรูปแบบ โดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรม Mplus Version 7.4 ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาอิงสถานที่ เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อมของเด็กปฐมวัย ที่พัฒนาจากโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการรู้สิ่งแวดล้อมของเด็กปฐมวัยที่มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างดี โดยพิจารณาจากค่าสถิติ ไค-สแควร์ (2 ) มีค่าเท่ากับ 101.49 องศาอิสระ (df) มีค่าเท่ากับ 83 ค่าความน่าจะเป็น (p) มีค่าเท่ากับ 0.08 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืม (GFI) มีค่าเท่ากับ 0.99 ค่าดัชนีรากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของส่วนเหลือมาตรฐาน (RMSEA) มีค่าเท่ากับ 0.01 ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ 1) เป้าหมาย (Goal) 2) บริบท (Cortex) 3) ปัจจัยนำเข้า (Input) 4) กระบวนการส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อมของเด็กปฐมวัย(Process) 5) ผลผลิต (Output) และ6) การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) โดยมีกระบวนการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาอิงสถานที่ที่พัฒนาขึ้น เพื่อนำไปใช้จัดประสบการณ์เรียนรู้แก่เด็กปฐมวัย 5 ขั้น คือขั้นที่ 1 สำรวจสิ่งแวดล้อมเชื่อมโยงประสบการณ์ ขั้นที่ 2 ค้นหาความรู้ ขั้นที่ 3 สู่สะท้อนความคิด ขั้นที่ 4 พินิจทำดี และขั้นที่ 5 นำเสนอข้อมูลและประยุกต์ใช้ 2. ผลการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาอิงสถานที่ เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อมของเด็กปฐมวัยของโรงเรียนที่ร่วมทดลองใช้รูปแบบทั้ง 5 โรงเรียน พบว่า โรงเรียนสามารถดำเนินการตามรูปแบบในการส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อมของเด็กปฐมวัย ตามแนวคิดการศึกษาอิงสถานที่ ทั้งด้านการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครู และด้านพฤติกรรมในการเรียนรู้ของเด็ก อยู่ในระดับมากที่สุด (x ̅=4.53) โดยผู้ใช้มีความเห็นว่ารูปแบบมีประโยชน์ มีความเป็นไปได้ มีความเหมาะสม และมีความถูกต้องอยู่ในระดับมาก ถึง มากที่สุด ( x ̅=4.46, x ̅=4.70, x ̅=4.53 และ x ̅=4.68 ตามลำดับ) และหลังทดลองรูปแบบฯ ใช้ในตัวอย่างโรงเรียนทุกสังกัดพบว่า เด็กปฐมวัยมีค่าเฉลี่ยระดับการรู้สิ่งแวดล้อมสูงขึ้นจากระดับปานกลาง ( x ̅=1.09) เป็นระดับดี ( x ̅=1.85)en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590252034-Atitaya Inyong.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.