Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78377
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมัสลิน โอสถานันต์กุล-
dc.contributor.authorนิพิฐพงศ์ สาวงศ์ทะen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T04:25:59Z-
dc.date.available2023-07-09T04:25:59Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78377-
dc.description.abstractDate palm (Phoenix dactylifera L.) is one of the economic crops that tolerate to high temperatures. Dates contain a relatively high sugar content and are rich in a variety of nutrients. Recently, date palm has become popular in Thailand, especially cultivar Barhee, Deglet Nour, and KL1. Date palm is a dioecious plant, having separate male and female trees, and the fruit of date palm can only be collected from the female tree. Commonly, sex of date palm can be determined based on morphology of flower. However, first flowering takes 4 - 7 years. As a result, molecular techniques have become attractive because these techniques can be used to identify sex of date palm at early stage. Therefore, this research aims to develop a molecular technique called High-Resolution Melting (HRM) for gender discrimination of date palm. There are two main parts in this project, including (1) selecting suitable regions for determination date palm gender by designing primers from areas with variation between male and female tree. Then, using uMELT software to predict male and female melting profiles. (2) performing HRM analysis using the primer pairs that were designed to discriminate the gender of the date palm. The results demonstrated that two different regions of the 12th chromosome (single nucleotide polymorphisms: SNPs and genes) were found to be good candidates for gender discrimination. Both SNPs and genes contain nucleotide variation between male and female and thus good for an HRM assay. Primer pairs were designed based on both SNPs (PDK_30s1202771) and genes sequences (MYBA, BAG and TIF-2). The analyses shows that the TIF2 primers was the only one that can be used to discriminate gender of two out of three date palm cultivars (Barhee and Deglet Nour) considered from melting temperatures (Tm) of male and female date palms (cultivar Barhee Tm of male trees = 86.36 ± 0.06, Tm of female trees = 86.25 ± 0.04 and Deglet Nour Tm of male trees = 86.83 ± 0.04, Tm of female trees = 86.53 ± 0.05) and the differences of melting curve shape between male and female tree.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจำแนกเพศของอินทผลัม (Phoenix dactylifera L.) ด้วยการวิเคราะห์ไฮเรโซลูชันเมลติงen_US
dc.title.alternativeSex discrimination of date palm (Phoenix dactylifera L.) using high-resolution melting analysisen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอินทผลัม-
thailis.controlvocab.thashอินทผลัม -- การจำแนก-
thailis.controlvocab.thashไฮเรโซลูชันเมลติง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractอินทผลัมหรือ Date palm (Phoenix dactylifera L.) เป็นพืชเศรษฐกิจที่ทนต่อความแห้งแล้งได้เป็นอย่างดี ยิ่งไปกว่านั้นผลของอินผลัมยังมีปริมาณน้ำตาลสูง และอุดมไปด้วยสารอาหารมากมาย ด้วยเหตุผลเหล่านี้จึงทำให้อินทผลัมเป็นที่นิยมในประเทศไทย โดยเฉพาะสายพันธุ์บาร์ฮี (Barhee) สายพันธุ์เด็คเล็ทนัวร์ (Deglet Nour) และสายพันธุ์แม่โจ้ 36 (KL1) ทั้งนี้อินทผลัมเป็นพืชที่มี 2 เพศแยกต้น และมีเพียงอินทผลัมเพศเมียเท่านั้นที่สามารถออกผลได้ โดยทั่วไปแล้วการจำแนกเพศนั้นจะใช้ลักษณะสัณฐานวิทยาของดอกเป็นหลัก อย่างไรก็ตามอินทผลัมใช้เวลาในการออกดอกประมาณ 4 - 7 ปี ในการออกดอกครั้งแรก ส่งผลให้วิธีการทางอณูชีววิทยาได้รับความสนใจมากขึ้นเนื่องด้วยวิธีการเหล่านี้เป็นวิธีการที่สามารถจำแนกเพศของอินทผลัมได้ตั้งแต่ระยะต้นกล้า ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีจุดมุ่งหมายที่จะจำแนกเพศของอินทผลัมด้วยเทคนิคไฮเรโซลูชันเมลติง (High-Resolution Melting : HRM) โดยงานวิจัยประกอบไปด้วย 2 ส่วนสำคัญ อันได้แก่ (1) คัดเลือกบริเวณที่เหมาะสมกับการจำแนกเพศของอินทผลัม โดยการออกแบบไพรเมอร์จากบริเวณที่มีความแตกต่างกันระหว่างต้นเพศผู้และเพศเมีย แล้วจึงทำการจำลองการวิเคราะห์ไฮเรโซลูชันเมลติงด้วยโปรแกรม uMELT (2) ทำการวิเคราะห์ไฮเรโซลูชันเมลติงด้วยไพรเมอร์ที่ถูกออกแบบมาเพื่อจำแนกเพศของอินทผลัม ในส่วนของผลการทดลองพบว่ามี 2 บริเวณบนโครโมโซมคู่ที่ 12 (บริเวณที่เป็น single nucleotide polymorphisms : SNPs และบริเวณที่เป็นยีน) ที่มีความเหมาะสมในการจำแนกเพศ โดยทั้งบริเวณ SNPs และบริเวณยีนปรากฏความผันแปรของนิวคลีโอไทด์ระหว่างเพศผู้และเพศเมีย ซึ่งเป็นผลดีต่อการวิเคราะห์ ไฮเรโซลูชันเมลติง ในส่วนของไพรเมอร์นั้นออกแบบโดยใช้จากข้อมูลลำดับนิวคลีโอไทด์ในบริเวณ SNPs (PDK_30s1202771) และบริเวณยีน (MYBA, BAG และ TIF-2) เมื่อทำการวิเคราะห์แล้วพบว่าคู่ไพรเมอร์ TIF2 เป็นคู่ไพรเมอร์เดียวที่สามารถจำแนกเพศของอินทผลัมได้ 2 ใน 3 สายพันธุ์ (บาร์ฮี และเด็คเล็ทนัวร์) โดยพิจารณาจากความแตกต่างกันของ melting temperature (Tm) ระหว่างอินทผลัมเพศผู้และเพศเมีย (สายพันธุ์บาร์ฮี; ต้นเพศผู้ Tm = 86.36± 0.06 ต้นเพศเมีย Tm = 86.25 ± 0.04 และสายพันธุ์เด็คเล็ทนัวร์; ต้นเพศผู้ Tm = 86.83 ± 0.04 ต้นเพศเมีย Tm = 86.53 ± 0.05) รวมถึงลักษณะของ melting curve ระหว่างอินทผลัมเพศผู้และเพศเมียที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620531045 นายนิพิฐพงศ์ สาวงศ์ทะ.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.