Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78360
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัทยา ชินกรรม-
dc.contributor.advisorกัญญ์สุดา นิ่มอนุสสรณ์กุล-
dc.contributor.authorวัลลภา แก้วลื้อen_US
dc.date.accessioned2023-07-07T08:31:16Z-
dc.date.available2023-07-07T08:31:16Z-
dc.date.issued2023-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78360-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to assess the economic, social and environmental impact of sanitary solid waste management of households in Wang Din Subdistrict, Li District, Lamphun Province. The key Informants were people who participants in project 40 persons by Purposive Selection. The method of focus groups and In-depth Interview were a tools for data collection from a discussion of stakeholders. The process inputs, activities, output and outcomes/impacts were concluded by the focus groups and In-depth Interview. In addition, they analyzed the deadweight, attribution and drop-off and financial proxy for each impact in order to calculate the social returns on investment (SROI). The study found that the project of sanitary solid waste management of households had 70% are female, aged between 40-60 years 77.50% with an average income of 9,000 baht per month. People sort waste every time before throwing it away. Which is considered in 3 aspects, namely 1) Economy, stakeholders in the project have waste separation. Can reduce the cost of waste management. and increase revenue from the sale of recycled waste, Government agencies reduce the cost of hiring a private company to collect waste and increased income from sales of plastic briquettes. 2) Social stakeholders in the project are proud and cause less stress. There is a good relationship between the community. 3) Environmental people in the area are aware of the negative effects on the environment and reduce the use of agricultural chemical fertilizers. Turn to compost waste from household food scraps through recycling or reuse processes. The net present value of 2,379,888 baht, the social returns on investment of 4.68 meaning that one baht on investment can create social benefits of 4.68 baht and the project reached the break-even within a period of 0.82 months had the net present value of 2,379,888 baht, the social returns on investment of 4.68 meaning that one baht on investment can create social benefits of 4.68 baht and the project reached the break-even within a period of 0.82 months.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมจากการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะของครัวเรือนในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลวังดิน อำเภอลี้ จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeAssessing the economic, social and environmental impact of sanitary solid waste management of households in Wang Din subdistrict, Li district, Lamphun provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashขยะ-
thailis.controlvocab.thashขยะ -- การจัดการ-
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐกิจ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมจากการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะของครัวเรือนในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลวังดิน อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ได้แก่ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ พนักงานเก็บขยะ ผู้นำชุมชน หน่วยงานภาครัฐ จำนวน 40 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) โดยสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ และค่าร้อยละ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์แผนที่ผลลัพธ์ ประกอบด้วยปัจจัยนำเข้า กิจกรรม ผลผลิต และหาข้อสรุปเป็นผลลัพธ์การวิเคราะห์ข้อมูลผลลัพธ์ ส่วนเกินโดยให้ค่าน้ำหนักการเปลี่ยนแปลงของกิจกรรมที่เกิดขึ้น ปัจจัยสนับสนุนอื่นที่มีผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ และอัตราการลงลงหรือคงที่ของผลสัมฤทธิ์ แล้วหามูลค่าตัวแทนทางการเงิน ของผลลัพธ์ที่แท้จริงเพื่อคำนวณอัตราส่วนผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) จากการศึกษาสรุปได้ว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 70 เป็นเพศหญิง อยู่ในช่วงอายุ 40-60 ปี ร้อยละ 77.50 ประกอบอาชีพเกษตรกร มีรายได้เฉลี่ย 9,000 บาทต่อเดือน ประชาชนมีการคัดแยกขยะทุกครั้งก่อนนำไปทิ้ง ซึ่งพิจารณาใน 3 ด้านได้แก่ 1) ด้านเศรษฐกิจประชาชนในพื้นที่มีการคัดแยกขยะ และมีรายได้จากการขายขยะรีไซเคิล หน่วยงานรัฐลดค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างเอกชนจัดเก็บขยะลง รายได้จากการขายพลาสติกอัดก้อนเพิ่มขึ้น 2) ด้านสังคม ประชาชนมีความภูมิใจ และเกิดความเครียดน้อยลง มีสัมพันธ์ที่ดีระหว่าชุมชน 3) ด้านสิ่งแวดล้อม ประชาชนในพื้นที่เกิดความตระหนักถึงผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมทั้งในส่วนของทัศนียภาพ อากาศ พาหะนำโรค ซึ่งมีการลดใช้ปุ๋ยเคมีทางการเกษตรลงหันมาใช้ปุ๋ยหมักขยะจากเศษอาหารในครัวเรือนโดยผ่านกระบวนการรีไซเคิลหรือการนำกลับมาใช้ใหม่ สามารถวิเคราะห์แปลงออกมาในเชิงตัวเลขมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ จำนวน 2,379,888 บาท อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน จำนวน 4.68 เท่า ซึ่งสรุปได้ว่า เมื่อลงทุนในทุกๆ 1 บาท จะสามารถสร้างประโยชน์ทางสังคมได้ 4.68 บาท และการลงทุนนี้สามารถคืนทุนได้ภายในระยะเวลา 0.82 เดือน มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ จำนวน 2,379,888 บาท อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน จำนวน 4.68 เท่า หมายความว่า การลงทุนทุก 1 บาท สามารถสร้างประโยชน์ทางสังคมได้ 4.68 บาท และการลงทุนนี้จะสามารถคืนทุนได้ภายในระยะเวลา 0.82 เดือนen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611631006-วัลลภา แก้วลื้อ.pdf13.93 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.