Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78344
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณวิทย์ อ่องแสวงชัย-
dc.contributor.authorสิทธิกานต์ สัตย์ซื่อen_US
dc.date.accessioned2023-07-06T09:46:07Z-
dc.date.available2023-07-06T09:46:07Z-
dc.date.issued2018-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78344-
dc.description.abstractThis research examines the factors that control and influence a structure of the spatial configuration and relationship between the community's elements in Chiang Mai citadel area, including the formation and transformation of urban form's process from 1296 until 2018. Using an Urban Morphological method to collect and analyze historical evidence, e.g. ancient maps, old photographs, aerial photographs. To illustrate and compare the evolution maps of its urban form. A result shows that Chiang Mai Inner City wall had accordingly originated and developed the spatial configuration and community's composition under the influence of primitive religion and sanctity such as the seven auspicious constituents and the Vastu Mandala in Hinduism, i.e.to its divided three zoning as a human figure. Subsequently, it developed its spatial configuration under the influence of Thaksa astrology and Buddhist Cosmology's concept. As a result, relocated and reclaimed nine communities along the main eight directions. The structure of spatial configuration and community's composition has existed to reform to a citadel later, under the political pattern of the early Rattanakosin period. Before socio-economic intervention during the local government reform, it impacts on the evolution of Chiang Mai inner city wall's shape that forms the current neighborhoods and communities.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดรูปที่ว่างและองค์ประกอบของชุมชนในเขตกำแพงเมืองชั้นใน เมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeSpatial configuration and community’s composition in Chiang Mai citadel areaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสัณฐานวิทยา-
thailis.controlvocab.thashผังเมือง -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเชียงใหม่ -- ประวัติศาสตร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยขึ้นนี้ศึกษาถึง สาเหตุ ปัจจัยที่ควบคุมและส่งอิทธิพลต่อโครงสร้างในการจัดรูปที่ว่างและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ของชุมชนในเขตกำแพงเมืองชั้นใน เมืองเชียงใหม่ ตลอดจนกระบวนการในการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงโครงสร้างความสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อรูปสัณฐานเมืองและชุมชน นับตั้งแต่ พ.ศ. 1839-2561 โดยอาศัยระเบียบวิธีวิจัยทางสัณฐานวิทยาเมืองในการวิเคราะห์หลักฐานทางประ วัติศาสตร์ แผนที่โบราณ ภาพถ่ายในอดีต เพื่อสร้างแผนที่พัฒนาการเปรียบเทียบลักษณะทงกายภาพของเมืองในแต่ละช่วงสมัย ผลการศึกษาพบว่าเมืองเชียงใหม่มีกำเนิดและพัฒนาการของการก่อรูปที่ว่างและองค์ประกอบของชุมชนไปตามอิทธิพลทางความเชื่อเรื่องผีและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ร่วมกับการจัดระเบียบที่ว่างและองค์ประกอบของเมืองไปตามแนวคิดเมืองมีตัวตนในศาสนาพราหมณ์ฮินดู ทำให้เมืองปรากฎโครงสร้างของรูปที่ว่างและความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบชุมชน ไปตามลำดับศักย์ของพื้นที่ จำแนกออกเป็น 3 บริเวณตามผังภาพวัสดุปุรุษมณฑลภายหลังปรากฏพัฒนาการในการจัดรูปที่ว่างและองค์ประกอบเมืองไปตามแนวคิด โหราศาสตร์ ทักษาส่งผลทำให้เกิดการ โขกข้าขถิ่นฐานและการบุกเบิกพื้นที่ โล่งว่างของเมืองไปตามทิศหลักทั้ง 8 ทิศปรากฏชุมชนทั้ง 9 บริเวณผสมผสานกับคติศูนย์กลางจักรวาลในพระพุทธศาสนา อันเป็นรากฐานในการจัดรูปที่ว่างและพัฒนาการของรูปสัณฐานเมืองป้อมปราการ ในช่วงฟื้นฟูบูรณะเมือง ภายใต้อิทธิพลทางการเมืองในการจัดรูปที่ว่างและองค์ประกอบไปตามแบบแผนของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น จนกระทั่งภายหลังถูกแทรกแซงทางเศรษฐกิจและสังคมในช่วงปฏิรูปการปกครอง ทำให้เขตกำแพงเมืองชั้นใน เมืองเชียงใหม่ปรากฎลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ย่านและชุมชนในปัจจุบันen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
571731009 สิทธิกานต์ สัตย์ซื่อ.pdf58.3 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.