Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78340
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชษฐภูมิ วรรณไพศาล-
dc.contributor.advisorนันท์นภัส แสงฮอง-
dc.contributor.authorสาวิตรี มูลเฟยen_US
dc.date.accessioned2023-07-06T00:50:42Z-
dc.date.available2023-07-06T00:50:42Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78340-
dc.description.abstractThis Research has 3 objectives including 1) to study contexts of the multicultural education provision to ethnic vocational students in Chiang Mai Province; 2) to develop innovation to promote multicultural society learning in the new normal for ethnic vocational students, Chiang Mai Province; and 3) to present innovation to promote multicultural society learning in the new normal for ethnic vocational students, Chiang Mai Province. The research design is experimental research. The sample group of this Research consists of 1st Year vocational students in 7 government vocational schools in Chiang Mai Province, totaling 345 people. The research tools consist of questionnaire, assessment form, cross-cultural competence test and innovation to promote multicultural society learning in the new normal for ethnic vocational students, Chiang Mai Province. Statistics used in the data analysis consist of percentage, arithmetic mean and standard deviation. According to the research results, it was found that 1) students had demand relating to the multicultural education provision at a high level (arithmetic mean was equal to 4.05 , and standard deviation was equal to 0.84); 2) innovation to promote multicultural society learning in the new normal for ethnic vocational students, Chiang Mai Province, with the result of design quality evaluation at the level of “Good” (arithmetic mean was equal to 4.30, and standard deviation was equal to 0.75, and the coefficient value of innovation was equal to 80.77/83.55); 3) innovation to promote multicultural society learning in the new normal for ethnic vocational students, Chiang Mai Province consisted of 5 components including 1) area of aims of the study, i.e., emphasizing the multicultural education for equality, cultural diversity; 2) area of timing structure, i.e., spending time for multicultural education for 1-3 hours; 3) area of multicultural content, i.e., emphasizing content of racial and ethnic diversity; 4) area of learning patterns, i.e., online patterns; and 5) measuring and evaluation, i.e., diversified test forms.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectนักศึกษาชาติพันธุ์en_US
dc.subjectอาชีวศึกษาen_US
dc.titleการพัฒนานวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรมในวิถีความปกติใหม่ สำหรับนักศึกษาชาติพันธุ์อาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDeveloping an innovation to promote multicultural society learning in the new normal for ethnic vocational students, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม-
thailis.controlvocab.thashพหุวัฒนธรรมนิยม-
thailis.controlvocab.thashกลุ่มชาติพันธุ์ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษา -- การดำเนินชีวิต-
thailis.controlvocab.thashอาชีวศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ 1.เพื่อศึกษาบริบทการจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาชาติพันธุ์อาชีวศึกษา ในจังหวัดเชียงใหม่ 2. เพื่อสร้างนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรมในวิถีความปกติใหม่ สำหรับนักศึกษาชาติพันธุ์อาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ 3. เพื่อนำเสนอนวัตกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรมในวิถีความปกติใหม่ สำหรับนักศึกษาชาติพันธุ์อาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ รูปแบบการวิจัยเป็นงานวิจัยเชิงทดลอง ตัวอย่างในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 ที่กำลังศึกษาในสถานศึกษาอาชีวศึกษาของรัฐ จำนวน 345 คน ที่มีที่ตั้งในเขตจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 7 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบวัดทักษะข้ามวัฒนธรรม และนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรมในวิถีความปกติใหม่ สำหรับนักษาชาติพันธุ์อาชีวศึกษา ในจังหวัดเชียงใหม่ และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ อค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษามีความต้องการศึกษาเกี่ยวกับสังคมพหุวัฒนธรรม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.05 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.84 2) นวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรมในวิถีความปกติใหม่ สำหรับนักศึกษาชาติพันธุ์อาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ มีผลการประเมินคุณภาพการออกแบบอยู่ในระดับ ดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.75 และมีค่าประสิทธิภาพของนวัตกรรม เท่ากับ 80.77/83.55 3) นวัตกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรมในวิถีความปกติใหม่ สำหรับนักศึกษา ชาติพันธุ์อาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านจุดมุ่งหมายของการศึกษา คือ มุ่งเน้นการศึกษาพหุวัฒนธรรมเพื่อความเสมอภาค ความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม ด้านโครงสร้างด้านเวลา คือ ใช้เวลาในการศึกษาพหุวัฒนธรรม 1-3 ชั่วโมง ด้านเนื้อหาของพหุวัฒนธรรม คือ เน้นเนื้อหาความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ด้านรูปแบบการเรียนรู้ คือ รูปแบบออนไลน์ และด้านการวัดและประเมินผล คือ แบบทดสอบที่หลากหลายen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630232015-สาวิตรี มูลเฟย.pdf18.76 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.