Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78331
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPenkarn Kanjanarat-
dc.contributor.advisorNahathai Wongpakaran-
dc.contributor.advisorTinakon Wongpakaran-
dc.contributor.advisorChidchanok Ruengorn-
dc.contributor.advisorRatanaporn Awiphan-
dc.contributor.advisorDanny Wedding-
dc.contributor.authorQiuyi Yangen_US
dc.date.accessioned2023-07-05T10:05:55Z-
dc.date.available2023-07-05T10:05:55Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78331-
dc.description.abstractFear of COVID-19 leads to stress and may result in various kinds of mental health problems. Many factors are associated with an individual's perception of stress including neuroticism and perceived social support. This study aimed to examine the role of neuroticism and perceived social support as mediators of fear of COVID-19 on perceived stress during the early stage of the pandemic in Thailand. A secondary data analysis of a cross-sectional survey was conducted. Data from the HOME-COVID-19 survey study during Wave I (April 21-May 4, 2020) were used for the analysis. Participants were general populations, non-health professional, 2 18 years. Mental health outcomes were assessed using the Fear of COVID-19 and Impact on Quality of Life Scale for Fear of COVID-19, the Neuroticism inventory, the Thai Multidimensional Scale of Perceived Social Support, and the Thai Perceived Stress Scale- 10. A parallel mediation model within a structural equation modeling framework with 5000 bootstrapping sampling iterations was used to test the mediating effect. We included 3,299 participants in this study. The average fear of COVID-19 score was 20.84±7.07, perceived stress score 17.61± 5.76, neuroticism score 36.27±9.57, and perceived social support score 59.01±13.48. Fear of COVID-19 had direct effect on perceived stress (B =0.100, 95% CI = 0.080-0.121, p < 0.001). Neuroticism mediated the relationship between fear of COVID-19 and perceived stress (B = 0.018, 95% CI = 0.000-0.036). Only perceived social support from friend was a significant mediator of the relationship between fear of COVID-19 and perceived stress (B= 0.016, 95% CI = 0.006-0.025). However, overall perceived social support was not a significant mediator of fear of COVID-19 on perceived stress. Neuroticism and perceived social support from friend are critical factors in the relationship between fear of COVID-19 and perceived stress. Longitudinal study is encouraged to investigate the causal effect of neuroticism and perceived social support on perceived stress.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEffects of fear of COVID-19 on perceived stress: the mediating roles of perceived social support and Neuroticismen_US
dc.title.alternativeผลของความกลัวโควิด-19 ต่อความรู้สึกเครียด: บทบาทตัวแปรคั่นกลางของความรู้สึกได้รับความช่วยเหลือทางสังคมและบุคลิกภาพแบบนิวโรติซิสมen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshCOVID-19 (Disease)-
thailis.controlvocab.lcshStress (Psychology)-
thailis.controlvocab.lcshMental Health-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความกลัวโควิด-19 ส่งผลให้เกิดความเครียดและอาจส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตหลายด้านปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ความเครียดของแต่ละบุคคลมีหลายปัจจัยรวมถึงบุคลิกภาพแบบนิวโรติชิสมและการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของบุคลิกภาพแบบนิวโรติซิสมและการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมในการเป็นตัวแปรคั่นกลางต่อความสัมพันธ์ระหว่างความกลัวโควิด-19 ต่อการรับรู้ความเครียดในระยะแรกของการระบาดของโรคไวรัสโคโรนาในประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลทุดิยภูมิจากการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง เรื่อง HOME-COVID-19 Survey ในระยะที่ ในช่วง 21 เมษายน - 4 พฤษภาคม 2563 โดยผู้เข้าร่วมการ วิจัยเป็นประชากรทั่วไป ที่ไม่ใช่ผู้ประกอบวิชาชีพ ด้านสุขภาพ อายุตั้งแต่ 18-59 ปีประเมินผลด้านสุขภาพจิตโดยใช้แบบวัดความกลัวเชื้อ โควิด-19 และผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตแบบวัดบุคลิกภาพแบบนิวโรติคซึมแบบสอบถามความรู้สึกหลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคมและแบบวัดความรู้สึกเครียดวิเคราะห์ผลของตัวแปรคั่นกลางแบบคู่ขนานด้วยสมการ โครงสร้างและการสุ่มแบบบูตสแตรป 5000 ครั้ง การวิจัยนี้คัดเลือกผู้เข้าร่วมการวิจัย 3,299 คน คะแนนเฉลี่ยความกลัวโควิด-19 20.84±7.07 คะแนนเฉลี่ย ความรู้สึกเครียด 17.61± 5.76 คะแนนคะแนนเฉลี่ยบุคลิกภาพแบบนิวโรติซิสม 36.27±9.57 และคะแนนเฉลี่ยการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม 59,01±13.48 ความกลัวโควิด 19 ส่งผลโดยตรงต่อการรับรู้ความเครียด (β = .100, 95% CI = .080 - . 121, p <.001) บุคลิภาพแบบนิวโรติซิสมมีอิทธิพลทางอ้อมบางส่วนต่อความสัมพันธ์ระหว่างความกลัวต่อโควิด-19 และการรับรู้ความเครียด (β = .018, 95%ㆍCI = .000-036) การรับรู้การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนมีอิทธิพลทางอ้อมบางส่วน ต่อความสัมพันธ์ระหว่างความกลัวโควิด-19 และการรับรู้ความเครียด(β = .016, 95%CI= .006-.025) อย่างไรก็ตาม การรับรู้การสนับสนุนทางสังคมโดยรวมไม่มีอิทธิพลทางอ้อมบางส่วนต่อความสัมพันธ์ระหว่างความกลัวโควิด-19 และการรับรู้ความเศรียด บุคลิกภาพแบบนิวโรติซิสมและการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนเป็นปัจจัย สำคัญต่อความสัมพันธ์ระหว่างความกลัวโควิด- 19และการรับรู้ความเครียดควรมีการศึกษาระยะยาว เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลของบุคลกภาพเบบนิวโรติซิสมและการรับรู้การสนับสนุน ทางสังคมต่อการรับรู้ความเครียดen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
639935803 QIUYI YANG.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.