Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78320
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNatad Assapaporn-
dc.contributor.advisorSunee Nguenyuang-
dc.contributor.advisorSomkiart Intasingh-
dc.contributor.authorKaneya Oonnangen_US
dc.date.accessioned2023-07-05T01:04:59Z-
dc.date.available2023-07-05T01:04:59Z-
dc.date.issued2022-10-16-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78320-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to assess the needs for learning management that enhances speech competency for student teachers, 2) to develop an enrichment curriculum enhancing speaking competency by integrating modeling and experiential learning for student teachers, and 3) to study the results of using the curriculum. The research was divided into 4 stages. Stage 1 was assessing the needs and studying relevant data and conducting a needs assessment to enhance speaking competency for student teachers. The sample consisted of 335 student teachers from Faculty of Education, Chiang Mai Rajabhat University by using simple random sampling. The research instrument was a needs assessment to enhance speaking competency. Stage 2 was to design and assess the quality of the curriculum using the obtained information from stage 1. The quality of the curriculum was assessed by the experts. The sample was composed of 10 experts. The research instrument was the curriculum quality assessment form. Stage 3 implemented the curriculum according to the 30-hour structure and learning management plans. The sample consisted of 30 student teachers from Faculty of Education, Chiang Mai Rajabhat University by using simple random sampling. The research instrument was an enrichment curriculum enhancing speaking competency, which the curriculum quality assessment was already completed from stage 2. For stage 4, it was to evaluate the curriculum with the knowledge of speaking principles for teachers, speaking skills in a professional context, and testing the attitudes towards speaking in a professional context. The sample consisted of the same group as stage 3. The research instruments were an achievement test on an assessment of speaking knowledge, a performance test of speaking skill, and an attitude test toward speaking in a teaching professional context. The statistics data analysis was the mean, standard deviation, PNI Modified, and t-test. The results of the study revealed that 1. The result of needs assessment for learning management to enhance speech competency consisted of 5 components. They were 1) content 2) learning activities 3) media and learning resources 4) measurement and evaluation, and 5) lecturers. It was found that most of the present and desirable conditions were at a high level. The result of prioritized needs from each aspect could be used to develop the curriculum to enhance speech competency for student teachers. 2. The enrichment curriculum enhancing speaking competency by integrating modeling and experiential learning for student teachers was composed of 7 components. They were 1) curriculum principles, 2) curriculum objectives, 3) learning content, 4) curriculum structures, 5) learning activities, 6) instructor and learner roles, and 7) learning measurement and evaluation. The experts assessed the overall quality of the curriculum at the highest level. 3. The results of implementing the enrichment curriculum enhancing speech competency by integrating modeling and experiential learning for student teachers were found that 3.1 The student teachers gained knowledge of the speaking principles for teachers after studying at a high level. It was higher than prior to the studying at the .05 level statistically and significantly. 3.2 The student teachers had better speaking skill in a teaching professional context after studying at a high level. It was higher than the criterion of 70 percent at the .05 level statistically and significantly. 3.3 The student teachers had better attitudes towards speaking in a teaching professional context after studying at a high level. It was higher than prior to the studying at the .01 level statistically and significantly.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of an enrichment curriculum enhancing speaking competency by integrating modeling and experiential learning for student teachersen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาหลักสูตรเสริมสมรรถนะด้านการพูดโดยบูรณาการการใช้ตัวแบบและการเรียนรู้เชิงประสบการณ์สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshSpeech-
thailis.controlvocab.lcshSpeech -- Study and teaching-
thailis.controlvocab.lcshExperiential learning-
thailis.controlvocab.lcshStudent teachers-
thailis.controlvocab.lcshInterns (Education)-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินความต้องการจำเป็นในการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะด้านการพูดสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู 2) เพื่อพัฒนาหลักสูตรเสริมสมรรถนะด้านการพูดโดยบูรณาการการใช้ตัวแบบและการเรียนรู้เชิงประสบการณ์สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู และ 3) เพื่อศึกษาผลการใช้หลักสูตรฯ ผู้วิจัยดำเนินการวิจัยตามระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนาใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การประเมินความต้องการจำเป็นและศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ทำการประเมินความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะด้านการพูด สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาวิชาชีพครู สังกัดคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ จำนวน 355 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะด้านการพูด ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบและประเมินคุณภาพหลักสูตร นำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 1 มาประมวลและทำการสร้างหลักสูตรและประเมินคุณภาพหลักสูตรโดยผู้เชี่ยวชาญ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินคุณภาพหลักสูตร ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้หลักสูตร ดำเนินการใช้หลักสูตรตามโครงสร้างและแผนการจัดการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ จำนวน 30 ชั่วโมง ตัวอย่างในการวิจัย คือ นักศึกษาวิชาชีพครู สังกัดคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ หลักสูตรเสริมสมรรถนะด้านการพูดที่ผู้วิจัยสร้างและหาคุณภาพแล้วเสร็จในขั้นตอนที่ 2 และขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการใช้หลักสูตร ทำการทดสอบความรู้เกี่ยวกับหลักการพูดสำหรับครู ประเมินทักษะการพูดในบริบทวิชาชีพครู และวัดเจตคติต่อการพูดในบริบทวิชาชีพครู ตัวอย่างในการวิจัยคือ นักศึกษากลุ่มเดียวกับขั้นตอนที่ 3 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบความรู้ด้านการพูด แบบประเมินทักษะการพูด และแบบวัดเจตคติต่อการพูดในบริบทวิชาชีพครู วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNIModified และค่าสถิติทดสอบ t สรุปผลการวิจัย 1. ผลการประเมินความต้องการจำเป็นในการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะด้านการพูดสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูใน 5 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านเนื้อหาสาระ 2) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3) ด้านสื่อและแหล่งการเรียนรู้ 4) ด้านการวัดและประเมินผล และ 5) ด้านอาจารย์ผู้สอน โดยภาพรวมพบว่า สภาพปัจจุบันและสภาพที่คาดหวังทุกด้านอยู่ในระดับมาก สำหรับผลการจัดลำดับความต้องการจำเป็นในแต่ละด้าน สามารถนำไปประกอบการพัฒนาหลักสูตรเพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการพูดสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูได้ 2. หลักสูตรเสริมสมรรถนะด้านการพูดโดยบูรณาการการใช้ตัวแบบและการเรียนรู้ เชิงประสบการณ์สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการของหลักสูตร 2) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 3) สาระการเรียนรู้ 4) โครงสร้างหลักสูตร 5) กิจกรรมการเรียนรู้ 6) บทบาทผู้เรียนและผู้สอน และ 7) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตลอดจนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้ง 10 แผน ซึ่งผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของหลักสูตรเฉลี่ยโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3. ผลการใช้หลักสูตรเสริมสมรรถนะด้านการพูดโดยบูรณาการการใช้ตัวแบบและ การเรียนรู้เชิงประสบการณ์สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู พบว่า 3.1 นักศึกษาวิชาชีพครูมีความรู้เกี่ยวกับหลักการพูดสำหรับครู หลังเรียนจากหลักสูตรฯ อยู่ในระดับมาก และสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.2 นักศึกษาวิชาชีพครูมีทักษะการพูดในบริบทวิชาชีพครู หลังเรียนจากหลักสูตรฯ อยู่ในระดับมาก และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.3 นักศึกษาวิชาชีพครูมีเจตคติที่ดีต่อการพูดในบริบทวิชาชีพครู หลังเรียนจากหลักสูตรฯ อยู่ในระดับมากที่สุด และสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590252015-KANEYA OONNANG.pdf3.53 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.