Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78292
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Siriporn Chaisri | - |
dc.contributor.advisor | Niti Mankhemthong | - |
dc.contributor.author | Chaninthon Rattanavetchasit | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-03T10:43:20Z | - |
dc.date.available | 2023-07-03T10:43:20Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78292 | - |
dc.description.abstract | This thesis tests the feasibility of seismic velocity variation (dv/v) monitoring using ambient noise interferometry in 26 seismometers across Northern Thailand including IU.CHTO station from the IU network, MU.BHSP from the MU network, 11 stations from the TM network, and 13 stations from the T2 network from 2004 to 2021. The study is divided into two parts including (1) single-station ambient noise monitoring using the three-component records at an individual seismometer from 14 stations in the IU, TM, MU, and T2 networks, and (2) station-station ambient noise monitoring using vertical records of 12 stations in the T2 network covering the Chiang Mai Basin (CMB). All ambient noise data are processed by the Msnoise package (Lecocq et al., 2014) to achieve the dv/v information. The four key processing steps are (1) pre-processing by demean, detrend, bandpass filtering, resampling, clipping, and spectral whitening, (2) correlation calculating of any ambient pairs and filtering to generate daily noise correlation functions (NCFs) in the limited frequency bands, (3) averaging all daily NCFs in selected times used as the reference function, and (4) traveltime shift (dt/t) estimating between the daily NCFs and the reference functions then converts by taking negative dt/t to obtain dv/v. The processing parameter justification is initiated at the station JU.CHTO by the single- station approach, and the resulting optimal parameters are expanded to process the other stations. After dv/y retrieval, the feasibility of ambient noise monitoring at each station is assessed by comparing with rainfall, groundwater level, and seismicity for interpretation of seismic velocity variations underneath the stations. Alternatively, the objective of the station-station approach is to investigate spatial co-seismic velocity changes associated with the 2014 Mw 6.2 Mae Lao earthquake, which is the largest earthquake that is instrumentally recorded in Thailand. From the single-station approach, the solutions from six seismometers, including IU.CHTO, MU.BHSP, TM.CMMT, TM.MHMT, TM.LAMP, and T2.CM3 1, are capable of identifying dv/v temporal evolutions in 1 - 6 Hz frequency bands. The dv/v solutions varying between + 2 % reveal strong seasonal variations related to rainfall. At the stations where groundwater data are available such as IU.CHTO, TM.CMMT, and T2.31, the excellent correlations in the dv/v patterns with annual cycles of groundwater levels are observed. The dv/v change (Adv/v) is used to estimate groundwater level change (Ah) via the linear empirical formula Ah = -a(Adv/v). The solutions yield conversion factors a in a range of 1.50 - 2.10 m/%o. The finding shows that this noise-based dv/v monitoring can be a promising tool for tracking groundwater levels with long-term temporary high resolution in areas with permanently installed seismometers. Besides, the dv/v monitoring in 0.12 - 1 Hz frequency bands from the station-station approach in the CMB also shows the seasonal variations between + 0.5 % related to rainfall. However, significant dv/v change associated with the Mae Lao earthquake and local seismicity is not reported due to large distances from epicenters and the low magnitude of earthquakes. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Seismic velocity monitoring using ambient seismic noise Interferometry in Northern Thailand | en_US |
dc.title.alternative | การเฝ้าติดตามความเร็วคลื่นไหวสะเทือนโดยอินเตอร์เฟอโรเมตรีสัญญาณรบกวนไหวสะเทือนโดยรอบในภาคเหนือประเทศไทย | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Geophysics | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Seismic waves | - |
thailis.controlvocab.thash | Earthquakes | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาความเหมาะสมในการเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของความเร็ว คลื่นไหวสะเทือน (dv/v) โดยใช้อินเตอร์เฟอโรเมตรีของสัญญาณรบกวนไหวสะเทือนโดยรอบ จาก เครื่องวัดคลื่นไหวสะเทือน 26 สถานี ในภาคเหนือของประเทศไทย ได้แก่ สถานี IU.CHTO จาก เครือข่าย IU MU.BHSP จาก เครือข่าย MU 11 สถานี จากเครือข่าย TM และ 13 สถานีจากเครือข่าย 12 ที่บันทึกตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 ถึง 2564 การศึกษานี้แบ่งการประมวลผลเป็น 2 กลุ่ม คือ (1) การ ตรวจสอบสัญญาณรบกวนโดยรอบ โดยใช้ข้อมูลสามองค์ประกอบที่ตั้งฉากกันของสถานีเดี่ยว จาก 14 สถานี ในเครื่อข่าย IU TM MU และ 12 และ (2) การตรวจสอบสัญญาณรบกวนโดยรอบ โดยใช้ ข้อมูลองค์ประกอบแนวดิ่งระหว่างคู่สถานี โดยใช้ 12 สถานี ในเครือข่าย T2 ซึ่งครอบคลุมพื้นที่แอ่ง เชียงใหม่ การประมวลผลสัญญาณรบกวนโดขรอบใช้โปรแกรม Msnoise ซึ่งมี 4 ขั้นตอนที่สำคัญ คือ (1) การเตรียมสัญญาณ โดยการ กำจัดแนวโน้ม กรองความถี่ การสุ่มข้อมูลใหม่ การตัดสัญญาณ กระชาก และ การไวท์เทนนิ่งสเปกตรัม (2) การคำนวณสหสัมพันธ์ไขว้ ระหว่างคู่สัญญาณใด ๆ และ กรองความถี่ เพื่อสร้างฟังก์ชันสหสัมพันธ์สัญญาณรบกวนรายวัน (NCF) ในช่วงความถี่ที่จำกัด (3) สร้างฟังก์ชัน NCF อ้างอิงโดยการเฉลี่ย NCF รายวันทั้งหมดในช่วงเวลาที่กำหนด และ (4) ประมาณค่า การเปลี่ยนแปลงเวลาเดินทาง (d/) ของ NCF รายวัน โดยเปรียบเทียบกับฟังก์ชัน NCF อ้างอิง ค่าลบ ของ d/ จะถูกแปลงเป็นค่า dvง โดยมีการทดสอบการประมวลผลข้อมูลที่สถานีเดี่ยว IU.CHTO เพื่อ หาพารามิเตอร์ที่เหมาะสม และนำค่าที่ได้ไปใช้กับสถานีอื่นๆ หลังจากได้ค่า dv/ง การประเมินความ เหมาะสมของวิธีการเฝ้าติดตามสัญญาณรบกวนโดยรอบของแต่ละสถานี โดยศึกษา dv/v เปรียบเทียบ กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณน้ำฝน ระดับน้ำบาดาล และ ความไหวสะเทือนที่บันทึกในบริเวณ ใกล้เคียง เพื่อแปลผลการเปลี่ยนแปลง dv/ข ภายใต้สถานี สำหรับการประมวลผลด้วยวิธีคู่สถานี มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ของ dv/ง เนื่องจากแผ่นดินไหวแม่ลาว ขนาด 6.2 ใน พ.ศ. 2557 ซึ่งเป็นเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ใหญ่ที่สุดที่บันทึกได้ในประเทศไทย ผลการศึกษาในสถานีเดี่ยวพบว่าเครื่องวัดคลื่นไหวสะเทือน 6 สถานี ได้แก่ IU.CHTO, MU.BHSP, TM.CMMT, TM.MHMT, TM.LAMP, และ T2.31 สามารถนำมาประมวลผลเพื่อเฝ้า ติดตาม dvง ในข่านความถี่ 1 -6 เฮิรตซ์ ได้ และพบว่าค่า dvง ในทุกสถานีแสดงให้เห็นการ เปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลที่ชัดเจนในช่วง 2 % สัมพันธ์กับปริมาณน้ำฝน และสังเกตเห็นความ สอดคล้องกันของรูปแบบการเปลี่ยนแปลง dv/v กับวัฏจักรของระดับน้ำใต้ดินรายปี ณ สถานีที่มี ข้อมูลน้ำบาดาล ได้แก่ IU.CHTO TM.CMMT และ T2.31 การเปลี่ยนแปลง dv/v (Adv/v) สามารถ นำมาประมาณค่าหาการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำบาดาล (Xh) ได้ผ่านความสัมพันธ์เชิงเส้น Ah=- c (Adv/v) ที่มีตัวเทียบหน่วย 4 ในช่วง 1.50 - 2.10 เมตร/* ซึ่งผลการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นความ เป็นไปได้ของการประยุกต์ใช้สัญญาณรบกวนไหวสะเทือน โดยรอบในการติดตามระดับน้ำบาดาล ระขะขาว ด้วขความละเอียดสูงในพื้นที่ที่มีสถานี วัดแผ่นดินไหว นอกจากนี้ผลการเฝ้าติดตาม dv/ง จาก การประมวลผลด้วยคู่สถานีในแอ่งเชียงใหม่ พบการเปลี่ยนแปลง dv/ง ในย่านความถี่ 0. 12 - เฮิรตซ์ ในช่วง -0.5 % ที่สัมพันธ์กับฤดูกาลเช่นกัน อย่างไรก็ตามไม่สามรถสังเกตการเปลี่ยนแปลง dv/v อย่างมีนัยสำคัญที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวแม่ลาว ของวิธีสถานีเดี่ยว และ คู่สถานีได้ เนื่องจากสถานีที่ ใช้อยู่ไกลจากจุดเกิดแผ่นดินไหว | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630535907 ชนินทร รัตนเวชสิทธิ.pdf | 26.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.