Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78280
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภราดร สุรีย์พงษ์ | - |
dc.contributor.author | พิรยา วาดวงศ์ยศ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-03T01:06:47Z | - |
dc.date.available | 2023-07-03T01:06:47Z | - |
dc.date.issued | 2022-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78280 | - |
dc.description.abstract | In organizations driven by technology amidst the digital age, most policies in place are agile working policies as they meet the demand of the current day’s work style and are suitable for highly agile organizations that are prepared for changes. However, they require standardized and efficient internal management. Project management tool is one of the tools that support agile work styles of personnel within an organization. It allows a smooth collaboration and means of progress tracking. Furthermore, such organizations prioritize happiness of work. However, project management tools have yet to be suited for managing happiness of work and workload systematically. According to the study, certain departments in the organization found themselves to have many daily staff. Department heads or staff were unable to see the overview, plan, or distribute workload evenly. This study introduced a combination of employee workload and happiness management tool and project management tool to create appropriate workload planning and focus more on workload flexibility or happiness of work in the future strategically. Additionally, this tool helps decrease daily excessive workload and time spent on project management. Furthermore, happiness from each individual in the organization for department head, human resource department, and executive will reduce work stress which increases the happiness of staff within such department and allow a better adaptation to agile working. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ความสุขในการทำงาน | en_US |
dc.subject | ปริมาณงานของพนักงาน | en_US |
dc.subject | เครื่องมือในการบริหารจัดการโปรเจค | en_US |
dc.subject | ความสุขในการทำงานต่อปริมาณงานของพนักงาน | en_US |
dc.subject | เครื่องมือในการบริหารจัดการปริมาณงานของพนักงาน | en_US |
dc.title | ระบบวัดความสุขของพนักงานจากงานที่ได้รับมอบหมายในกระบวนการแบบอไจล์ | en_US |
dc.title.alternative | Employee happiness measurement system on assigned task in agile process | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | ความพอใจในการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | คุณภาพชีวิตการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | สภาพแวดล้อมการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | อไจล์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | องค์กรที่ขับเคลื่อนโดยการใช้เทคโนโลยีเป็นหลักในยุคดิจิทัล นโยบายในการบริหารงานขององค์กรเหล่านี้มักจะใช้รูปแบบการทำงานแบบอไจล์เป็นส่วนใหญ่ สามารถตอบโจทย์การทำงานยุคในปัจจุบัน เหมาะสำหรับองค์กรที่ต้องการความคล่องตัวที่สูง และพร้อมจะเปลี่ยนแปลง หากแต่ต้องมีการบริหารจัดการภายในองค์กรที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ การใช้เครื่องมือในการบริหารจัดการงาน หรือ โปรเจกต์ ก็เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือในการช่วยให้คนในองค์กรที่เน้นการทำงานแบบ อไจล์ สามารถทำงานร่วมกันอย่างไร้อุปสรรค รวมทั้งติดตามงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างราบรื่น นอกจากนั้นองค์กรเหล่านี้มักจะให้ความสำคัญกับความสุขในการทำงานเป็นหลัก ซึ่งระบบริหารจัดการงาน หรือ โปรเจกต์ยังไม่สามารถจัดการความสุข และจัดการการปริมาณการทำงานได้อย่างเป็นระบบ จากกลุ่มที่ทำการวิจัยพบว่าบางฝ่ายงานภายในองค์กร มีพนักงานที่มีปริมาณงานมากเกินไปในแต่ละวัน หัวหน้าฝ่าย หรือ พนักงานเองไม่สามารถมองภาพรวมงานและวางแผนการทำงานล่วงหน้าได้ หรือ การแบ่งงานให้คนในฝ่ายงานสามารถช่วยเหลือกัน กระจายปริมาณงานได้อย่างถั่วถึงกัน งานวิจัยนี้ได้นำเครื่องมือการบริหารจัดการปริมาณงาน และความสุขรวบรวมเข้ากับระบบบริหารจัดการงาน หรือ โปรเจกต์ เพื่อให้รองรับการวางแผนปริมาณงานที่เหมาะสม และเน้นความยืดหยุ่นในบริหารปริมาณงาน หรือ ความสุขขององค์กรภายในอนาคตข้างหน้าได้อย่างมีระเบียบแบบแผน อีกทั้งยังลดการที่มีภาระงานต่อวันที่มากเกินความจำเป็น ลดระยะเวลาในการบริหารจัดการปริมาณงาน และความสุขของแต่ละบุคคลในองค์กร สำหรับหัวหน้าฝ่าย หรือ ฝ่ายบุคคล หรือ ผู้บริหาร สามารถช่วยลดภาวะความตึงเครียดในการทำงาน ซึ่งเป็นการส่งผลที่ดีต่อความสุขที่เพิ่มมากขึ้นของพนักงานแต่ละคน และในฝ่ายงานนั้น ๆ ทั้งยังตอบสนองการทำงานในรูปแบบแบบอไจล์ได้อย่างสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
632132047-PIRAYA WADWONGYOD.pdf | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.