Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78269
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิสัยศิษฎ์ ชัยจรีนนท์ | - |
dc.contributor.advisor | ปิยะนารถ จาติเกตุ | - |
dc.contributor.author | สิริพรรณ พันธ์พิบูลย์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-02T10:37:29Z | - |
dc.date.available | 2023-07-02T10:37:29Z | - |
dc.date.issued | 2022-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78269 | - |
dc.description.abstract | This study was a cross-sectional survey examined the prevalence and the factors associated with oral candida species in dependent older adults in Huataphan district, Amnat Charoen province. The sample group consisted of 140 dependent older adults community dwellers in Huataphan district who met the inclusion and exclusion criteria. Data were collected in November 2019 to April 2020 through questionnaires, oral hygiene was assessed by Tongue Coating Index, dry mouth was measured by Moisture Checker Mucus®, oral and denture specimens were collected by imprint culture technique, toothbrush specimens were collected by soaked and shook into sterile phosphate buffered saline (PBS pH 7.4). Candida colonies were counted after incubation at 37 °C for 48 hours on CHROMagarTM Candida-yeast differential media. The results demonstrated that the prevalence of oral candida species in dependent older adults in Huataphan district was 62.9%. C. Albicans was the most frequently detected in participants (83.4%), followed by C. Glabrata (40.9%). Factors related to colonization of oral candida species at the level .05 were gender (p=.007) and dry mouth (p=.040). Factors related to C. Albicans were gender (p=.001), dry mouth (p=.003) and tongue brushing (p=.013) | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการมีเชื้อราแคนดิดาในช่องปากของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ | en_US |
dc.title.alternative | Prevalence and factors associated with candida species of dependent older adults in Huataphan district, Amnat Charoen province | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | แคนดิดา | - |
thailis.controlvocab.thash | ปาก -- การดูแลและสุขวิทยา | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้สูงอายุ -- อำนาจเจริญ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการสำรวจภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการมีเชื้อราแคนดิดาในช่องปากของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงอำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่อาศัยอยู่ในอำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ ที่ผ่านเกณฑ์การคัดเข้าและคัดออกจำนวน 140 คน เก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2563 เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม การถ่ายภาพลิ้นเพื่อประเมินสภาวะอนามัย ช่องปาก เครื่องวัดความชุ่มชื้นในช่องปากเพื่อประเมินภาวะปากแห้ง การตรวจปริมาณเชื้อราในช่องปากและบนฟันเทียมด้วยวิธีอิมพริ้นท์ การตรวจปริมาณเชื้อราบนแปรงสีฟันโดยนำแปรงสีฟันมาจุ่มและเขย่าในสารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ซาลีน เพาะเลี้ยงเชื้อราบนอาหารเลี้ยงเชื้อ CHROMagarTM Candida yeast differential media และบ่มเชื้อที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 48 ชั่วโมง ผลการศึกษาพบว่า ความชุกของการมีเชื้อราแคนดิดาในช่องปากของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงอำเภอหัวตะพาน เท่ากับร้อยละ 62.9 สายพันธุ์เชื้อราแคนดิดาที่พบมากที่สุดคือ แคนดิดา อัลบิแคนส์ ร้อยละ 83.4 รองลงมาคือ แคนดิดา กลาบราตา ร้อยละ 40.9 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีเชื้อราในปากอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ได้แก่ เพศ (p=.007) และภาวะปากแห้ง (p=.040) โดยปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบเชื้อรา แคนดิดา อัลบิแคนส์ ได้แก่ เพศ (p=.001) ภาวะปากแห้ง (p=.003) และการแปรงลิ้น (p=.013) | en_US |
Appears in Collections: | DENT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610931051_สิริพรรณ พันธ์พิบูลย์.pdf | 2.85 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.