Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78254
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิลาวัณย์ เตือนราษฎร์-
dc.contributor.advisorศิวพร อึ้งวัฒนา-
dc.contributor.authorกิตติชัย ปัญญาวรรณ์en_US
dc.date.accessioned2023-07-01T05:53:57Z-
dc.date.available2023-07-01T05:53:57Z-
dc.date.issued2021-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78254-
dc.description.abstractDiabetic foot complications affect quality of life for diabetes patients considerably, resulting in disability and sometimes death. The Buddy Care innovation is a healthcare innovation which encourages diabetic foot screening with buddy assistance to monitor and notify for self-care to prevent diabetic foot complications. This quasi-experimental study aimed to compare the number of participants who correctly screened their diabetic foot complications in patients with type 2 diabetes in innovative buddy care groups. The findings were evaluated both before and after innovation utilization, including comparison between participants in buddy care groups and those who received standard treatment. The participants were chosen by purposive sampling based on inclusion criteria and consisted of 40 patients with type 2 diabetes divided into an experimental group of 20 people and a control group of 20. The research tools were: The instruments for operation, which included: 1) activity planning for the buddy care innovation to screen for diabetic feet complications in patients with type 2 diabetes based on Bandura’s self-regulation theory (Bandura, 1986) . It consisted of 3 phases: selfobservation, judgment process, and self-reaction associated with self-regulation encouragement by offering individuals who could encourage, monitor and provide positive reinforcement, also called Buddy Care; 2) the diabetic foot complications screening handbook, and 3) a training plan for diabetic foot complications assessment skills. The tools for data gathering were a general information questionnaire and an observation form for diabetic foot complication screening, with a content validity value of 1.0 and reliability value of 1.0. The data was analyzed using McNemar’s Test and Chi-square Test. The results revealed that after using the buddy care innovation, the number of participants who correctly assessed diabetic foot complications in patients with type 2 diabetes in the experimental group was higher than before using the buddy care innovation (statistically significant at p < 0.001), and higher than the group of participants who received standard treatment (statistically significant at p < 0.01). The findings indicate that the buddy care innovation could be used to enhance diabetic foot complication screening, as well as effectively preventing diabetic foot complication.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของนวัตกรรมคู่หูดูแลกันต่อการประเมินภาวะแทรกซ้อนที่เท้าจากเบาหวานในผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในตำบลห้วยไคร้ อำเภอแม่สายจังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeEffect of the buddy care innovation on assessment of diabetic foot complications among persons with type 2 diabetes in Huai Khrai sub-district, Maesai district, Chiang Rai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเบาหวาน -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashเบาหวาน -- ภาวะแทรกซ้อน-
thailis.controlvocab.thashนวัตกรรมทางการแพทย์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะแทรกซ้อนที่เท้าจากโรคเบาหวานเป็นปัญหาสุขภาพที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานอย่างมาก อาจนำไปสู่ความพิการและเสียชีวิตได้ นวัตกรรมคู่หูดูแลกัน เป็นนวัตกรรมสุขภาพเพื่อส่งเสริมการประเมินภาวะแทรกซ้อนที่เท้า โดยมีคู่หูช่วยกำกับและกระตุ้น เตือนการดูแลตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เท้าจากเบาหวาน โดยการศึกษาครั้งนี้เป็นแบบ กึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design) เทียบจำนวนผู้ที่ประเมินมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบ ภาวะแทรกซ้อนที่เท้าในผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ถูกต้องในกลุ่มที่ได้รับนวัตกรรมคู่หูดูแล กัน วัดผลก่อนและหลังการใช้นวัตกรรม และระหว่างกลุ่มที่ได้รับนวัตกรรมคู่หูดูแลกันกับกลุ่มที่ ได้รับบริการตามปกติ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คัดเลือกโดยวิธีเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 40 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 20 ราย และกลุ่ม ควบคุม 20 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน ได้แก่ 1) แผน กิจกรรมของนวัตกรรมคู่หูดูแลกันสำหรับการประเมินภาวะแทรกซ้อนที่เท้าของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 พัฒนาจากแนวคิดการกำกับตนเองของแบนดูรา (Bandura, 1986) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่ การสังเกตตนเอง การตัดสินใจ และการแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง ร่วมกับการเสริมการกำกับ ตนเองโดยให้มีบุคคลคอยกระตุ้น กำกับติดตาม และการเสริมแรงทางบวก เรียกว่า คู่หูดูแลกัน 2) คู่มือ การประเมินภาวะแทรกซ้อนที่เท้า และ 3) แผนการสอนและฝึกทักษะการประเมินภาวะแทรกซ้อน ที่เท้า เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสังเกตการประเมิน ภาวะแทรกซ้อนที่เท้าตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้เท่ากับ 1.0 และความเชื่อมั่นได้เท่ากับ 1.0 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ McNemar Test และ Chi-square Test ผลการศึกษาพบว่า หลังได้รับนวัตกรรมคู่หูดูแลกัน กลุ่มทดลองมีจำนวนผู้ที่ประเมิน ภาวะแทรกซ้อนที่เท้าในผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ถูกต้องสูงกว่าก่อนได้รับนวัตกรรม อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < 0.001 และสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับบริการตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ p<0.01 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า นวัตกรรมคู่หูดูแลกันสามารถนำมาใช้เพื่อส่งเสริมการประเมิน ภาวะแทรกซ้อนที่เท้า และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เท้าได้อย่างมีประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621231008 กิตติชัย ปัญญาวรรณ์.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.