Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78241
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSakda Swathanan-
dc.contributor.advisorSomkiart Intasingh-
dc.contributor.advisorNampueng Intanate-
dc.contributor.authorWeenaprapa Cherngchowen_US
dc.date.accessioned2023-06-30T01:33:58Z-
dc.date.available2023-06-30T01:33:58Z-
dc.date.issued2022-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78241-
dc.description.abstractThis purpose of this research are 1) to assess the teachers’ need for the development of English language instructional management for upper secondary students 2) to develop an instructional model using Active Learning Strategies to enhance analytical thinking skill and English learning motivation of upper secondary students 3) to study the result from implementing an instructional model using Active Learning Strategies to enhance analytical thinking skill and English learning motivation of upper secondary students. In this research, the researcher proceeded according to the research and development methodology in four processes as follows: stage 1: Study and analyze important information for designing and developing the instructional model. The sample consists of 100 English teachers, selected by Purposive Sampling method. The research tool used consists of Teacher Needs Assessment Form for developing English instruction for upper secondary students. Stage 2: Designing the instructional model and applying the developed instructional model to determine the quality of the model. The target group are 5 qualified experts. The research tool used consist of the quality assessment form of the instructional model Stage 3: Implementing instructional model by applying and utilizing the developed instructional model in the second semester of the academic year 2021. The sample consists of 28 upper-secondary students in Mathayomsuksa 5 (11th –grade students) who were chosen by Cluster Random Sampling method. The research tools used consists of an analytical thinking skill assessment form and English learning motivation assessment form. Stage 4: Assessing the use and improving of the instructional models, the quantitative data were analyzed by using mean, percentage, standard deviation, PNI modified index and t-test. The qualitative data were analyzed by content analysis and descriptive description. Research findings found that 1. The needs of teachers to develop the English instruction for upper level secondary school students is to develop analytical thinking skill and enhance English learning motivation through Active Learning Strategies. 2. The developed instructional model developed by the researcher consists of 6 elements: 1) objective, 2) principles, 3) Instructional process in 4 stages – (1) Boost Motivation (B), (2) Team Learning Planning (T), (3) Analytical participation (A), and (4) Accuracy Confirmation (A) 4) learning media and resources 5) students and teachers roles, and 6) assessment and evaluation. The overall quality assessment of the instructional model was at the most level (mean 4.83). 3. Results of instructional model implementation was found that the students had analytical thinking skills after learning higher than before learning at the .01 level of significance in sequence. And the learning motivation after learning was higher than before learning at the .01 level of significance in sequence.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleDevelopment of an instructional model using active learning strategies to enhance analytical thinking skill and English learning motivation of upper secondary studentsen_US
dc.title.alternativeการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์และแรงจูงใจในการเรียนในวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEnglish language - - Study and teaching (Secondary)-
thailis.controlvocab.lcshThought and thinking-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstract-การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการจำเป็นของครูในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์และแรงจูงใจในการเรียนในวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และ 3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์และแรงจูงใจในการเรียนในวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย การวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ดำเนินการตามระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนาใน 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญสำหรับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ตัวอย่างคือ ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ 100 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินความต้องการจำเป็นของครูในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบรูปแบบการเรียนการสอน และนำรูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นไปพิจารณาหาคุณภาพของรูปแบบฯ กลุ่มเป้าหมายคือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินคุณภาพของรูปแบบการเรียนการสอน ขั้นตอนที่ 3 การนำรูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 28 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ และแบบวัดแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการใช้และปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยการหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNI modified และ ค่าสถิติทดสอบ t วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหาและบรรยายพรรณนา ผลการวิจัยเป็นดังนี้ 1. ความต้องการจำเป็นของครูในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย คือ การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และแรงจูงใจในการเรียน โดยใช้กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เชิงรุก 2. รูปแบบการเรียนการสอนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 2) หลักการของรูปแบบ 3) กระบวนการของรูปแบบการเรียนการสอน ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) กระตุ้นความอยากรู้คู่แรงจูงใจ (Boost Motivation: B) (2) วางแผนการเรียนรู้ ร่วมกันในทีม (Team Leaning Planning: T) (3) ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงวิเคราะห์ (Analytical Participation: A) และ (4) ยืนยันความถูกต้อง (Accuracy Confirmation: A) 4) สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 5) บทบาทของผู้เรียนและผู้สอน และ 6) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยผลการประเมินคุณภาพของรูปแบบการเรียนการสอนในภาพรวม มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่ำเฉลี่ย 4.83) 3. ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนฯ พบว่า นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และแรงจูงใจในการเรียนวิซาภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590252020 วีณประภา เชิงเชาว์.pdf4.62 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.