Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78235
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรถจักร์ สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.advisorสายชล สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.advisorสิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์-
dc.contributor.authorกัลย์วดี เรืองเดชen_US
dc.date.accessioned2023-06-30T00:38:20Z-
dc.date.available2023-06-30T00:38:20Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78235-
dc.description.abstractThe dynamics of economic and social changes of shrimp farmers in Ranot, Songkhla Province were caused by various factors and conditions from 1947 to 1957. With the expansion of the state into the countryside, the farmers in Ranot District have changed, from self-sufficient production to production for sale, resulting in a better quality of life, even more so through access to markets.This modification of the way of production has resulted in a better standard of life in the whole area. Since 1987, the government has supported and encouraged farmers in coastal areas to change their farming practices from self-sufficiency to a market-oriented approach, especially in the Ranot area because it is suitable for shrimp farming.Many farmers have turned to shrimp farming to create a better quality of life. Seizing this opportunity has resulted in the fast expansion of shrimp farming in the area. As a result, the economy in the Ranot area grew exponentially. Even though shrimp farming declined in the 1990s, there were still positive elements, namely the process of building skills and self-improvement led to the transformation from “shrimp farmers” to “shrimp entrepreneurs”. Shrimp farmers have made connections to modern networks and learned about new production models. This process led them to a new experience that created visions and resulted in better economic perspectives From this experience, changing relationship’s patterns of people in the community and new opportunities, together with the readiness to become an “entrepreneur’ have created a “Shrimp Farming Entrepreneur Society”, that gave farmers great potential and a readiness to improve their economic condition.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเศรษฐกิจen_US
dc.subjectสังคมen_US
dc.subjectชาวนากุ้งระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลาen_US
dc.titleพลวัตทางเศรษฐกิจและสังคมของชาวนากุ้ง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ระหว่าง พ.ศ. 2530-2561en_US
dc.title.alternativeEconomic and social dynamics of shrimp farmers in Ranot District,Songkhla Province, 1987-2018en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashระโนด (สงขลา) -- ภาวะเศรษฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashระโนด (สงขลา) -- ภาวะสังคม-
thailis.controlvocab.thashนากุ้ง-
thailis.controlvocab.thashกุ้ง-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractพลวัตของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของชาวนากุ้งอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เกิดจากปัจจัยและเงื่อนไขความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 2490 ต่อเนื่อง ทศวรรษที่ 2500 ที่มีการขยายตัวของรัฐเข้าสู่ชนบทได้ทำให้ชาวนาในอำเภอระโนดเปลี่ยนจากการผลิตพอเลี้ยงตนเองมาสู่การผลิตเพื่อขายทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นกว่าเดิม เมื่อการผลิตเข้ามาสัมพันธ์กับตลาด พร้อมกันนั้น การปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตนี้ได้ทำให้เกิดการแตกตัวและเลื่อนชนชั้นในพื้นที่ ทศวรรษ 2530 เป็นต้นมา รัฐได้สนับสนุนและส่งเสริมให้ชาวนาในพื้นที่ชายทะเลเปลี่ยนแปลงการผลิตมาสู่การทำนากุ้ง โดยเฉพาะในพื้นที่ระโนดเพราะมีความเหมาะสมในการเลี้ยงกุ้ง ชาวนาจำนวนมากได้เปลี่ยนตัวเองมาสู่การทำนากุ้งเพราะเหตุผลและด้วยความมุ่งหมายที่จะสร้างคุณภาพชีวิตให้ดียิ่งขึ้น การคว้าโอกาสของชาวนากุ้งทำให้เกิดการขยายตัวของการทำนากุ้งในพื้นที่อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เศรษฐกิจในพื้นที่ระโนดเกิดการเติบโตอย่างสูงสุด แม้ว่าการทำนากุ้งได้ชะลอตัวลงในทศวรรษ 2540 แต่สิ่งที่เป็นปรากฎการณ์อันสำคัญอย่างยิ่งคือ กระบวนการสร้างทักษะและพัฒนาตนเองขึ้นมาจาก “ชาวนากุ้ง” ได้พัฒนามาสู่การเป็น “ ผู้ประกอบการนากุ้ง” และชาวนากุ้งได้เชื่อมตัวเองกับเครือข่ายและรูปแบบการผลิตสมัยใหม่ ประสบการณ์หล่อหลอมให้เกิดวิสัยทัศน์และส่งผลให้เกิดมุมมองทางเศรษฐกิจ ความรู้สึกนึกคิด รูปแบบความสัมพันธ์ของคนในชุมชนและความพร้อมในการก้าวเข้าสู่โอกาสในการประกอบอาชีพในฐานะ “ ผู้ประกอบการ “ และได้ร่วมกันสร้าง “ สังคมผู้ประกอบการนากุ้ง”ขึ้นมาด้วยศักยภาพและความพร้อมที่จะดำเนินชีวิตทางเศรษฐกิจให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5950151003กัลย์วดี เรืองเดช.pdf3.65 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.