Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78230
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorCharin Mangkhang-
dc.contributor.advisorAtchara Kerdtep-
dc.contributor.advisorThongchai Phuwanatwichit-
dc.contributor.authorNontawan Saenpraien_US
dc.date.accessioned2023-06-29T10:03:23Z-
dc.date.available2023-06-29T10:03:23Z-
dc.date.issued2022-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78230-
dc.description.abstractMoon-Mung Phutai: The Process of Constructing an Ethnic Sociocultural Space Through Textile Wisdom in the Sakon Nakhon Basin, Thailand. The objectives of the study are as follows: 1) To study Moon-Mung Phutai in the context of the Sakon Nakhon basin area in geographical areas, Economic, Social and Cultural 2 ) To study the textile wisdom of the Phutai ethnic textiles in sakon Nakhon Basin, Thailand and 3 ) To synthesize the process of creating social, cultural spaces in the textile wisdom of the Phutai ethnic textiles in the Sakon Nakhon basin, Thailand. This study uses the qualitative study method and participant observation. The results of the study found that (1) Moon-Mung Phutai in Sakon Nakhon Basin area that is still preserved or inherited include belief in spirits and soul, language, food, weaving wisdom and fabric patterns, although their residence and occupation have changed. (2) Textile wisdom of Phutai ethnicity in Sakon Nakhon Basin area is the ability of Phutai women to weave clothes for household use especially the Sarong which is called Tinto that has a specific aspect and an indigo-dyed three-quarter sleeve shirt, using the technique of weaving in a Khit, Jok and Mudmee. The woven patterns are inspired by the surrounding nature, as well as in line with beliefs and lifestyles. (3) The pattern of the process of creating a social and cultural space in terms of ethnic textile wisdom of Phutai in Sakon Nakhon Basin is divided into 2 levels including the individual level where the area is created through the belief in Buddhism. As a result of tourism, the Phutai ethnic group is well known. In addition, the space was created through the integration of consciousness of the same ethnic group through the World Phutai Association. The common identity level of Phutai ethnic group is represented as a symbolic interaction that depends on the social structure by creating an area of textile wisdom through educational institutions and the monarchyen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subject.lcshLocal wisdom - - Sakon Nakhon-
dc.subject.lcshTextile - - Sakon Nakhonen_US
dc.subject.lcshEthnocentrism - - Sakon Nakhonen_US
dc.subject.lcshMoon-Mung Phutaien_US
dc.titleMoon-Mung Phutai: The Process of Constructing an Ethnic Sociocultural Space Through Textile Wisdom in the Sakon Nakhon Basin, Thailanden_US
dc.title.alternativeมูลมังผู้ไท: กระบวนการสร้างพื้นที่สังคมวัฒนธรรมทางชาติพันธุ์ผ่านภูมิปัญญาสิ่งทอในพื้นที่แอ่งสกลนครประเทศไทยen_US
dc.typeThesis-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง มูลมังผู้ไท: กระบวนการสร้างพื้นที่สังคมวัฒนธรรมทางชาติพันธุ์ผ่านภูมิปัญญาสิ่งทอในพื้นที่แอ่งสกลนครประเทศไทย ดังนี้ 1. เพื่อศึกษามูลมังผู้ไทในบริบทพื้นที่แอ่งสกลนครทางด้านภูมิประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 2. เพื่อศึกษามูลมังภูมิปัญญาสิ่งทอของชาติพันธุ์ผู้ไทในพื้นที่แอ่งสกลนครประเทศไทย และ 3. เพื่อสังเคราะห์รูปแบบกระบวนการสร้างพื้นที่สังคมวัฒนธรรมด้านภูมิปัญญาสิ่งทอของชาติพันธุ์ผู้ไทในพื้นที่แองสกลนครประเทศไทย ใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม ผลการศึกษา พบว่า (1) มูลมังผู้ไทในพื้นที่แอ่งสกลนครที่ยังคงอยู่รักษาหรือสืบทอดไว้ คือ ความเชื่อเรื่องผีและขวัญ ภาษา อาหารการกิน ภูมิปัญญาการทอผ้าและลวดลายผ้า ส่วนสิ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงไป คือ ด้านที่อยู่อาศัยและการประกอบอาชีพ (2) มูลมังภูมิปัญญาสิ่งทอของชาติพันธุ์ผู้ไท ได้แก่ ความสามารถในการทอผ้าของหญิงผู้ใทเพื่อใช้ในครัวเรือน โดยเฉพาะผ้าซิ่นที่มีลักษณะเฉพาะที่เรียกว่าตีนเต๊าะ สวมเสื้อแขนกระบอกสามส่วนย้อมคราม โดยใช้เทคนิคการทอผ้าแบบขิด แบบจก และมัดหมี่ ส่วนลวดลายที่ทอได้รับแรงบันดาลใจจากธรรมชาติแวดล้อมรอบตัว ตลอดจน สอดคล้องกับความเชื่อและวิถีชีวิต (3) รูปแบบกระบวนการสร้างพื้นที่สังคมวัฒนธรรมด้านภูมิปัญญาสิ่งทอของชาติพันธุ์ผู้ไทในพื้นที่แอ่งสกลนครแบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ระดับปัจเจกที่มีการสร้างพื้นที่ผ่านความเป็นผู้ที่มีความศรัทธาในพุทธศาสนา ส่งผลสืบเนื่องต่อด้านการท่องเที่ยวทำให้ชาติพันธุ์ผู้ไทเป็นที่รู้จัก นอกจากนี้ยังมีการสร้างพื้นที่ผ่านการรวมกลุ่มจิตสำนึกแห่งความเป็นกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกันผ่านสมาคมผู้ไทโลก ส่วนระดับอัตลักษณ์ร่วม กลุ่มชาติพันธ์ผู้ไทมีการแสดงออกมาเป็นปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ที่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างทางสังคม โดยมีการสร้างพื้นที่ด้านภูมิปัญญาสิ่งทอ ผ่านสถาบันการศึกษาและสถาบันกษัตริย์en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590251009 นนทวรรณ แสนไพร.pdf4.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.