Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78225
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWong Phakhodee-
dc.contributor.advisorMookda Pattarawarapan-
dc.contributor.advisorPatnarin Worajittiphon-
dc.contributor.authorNittaya Wiriyaen_US
dc.date.accessioned2023-06-29T09:45:50Z-
dc.date.available2023-06-29T09:45:50Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78225-
dc.description.abstractThe amide bond is an important functional group in organic chemistry. Not only it is present in a wide range of biologically important molecules, such as proteins, peptides, and nucleic acids, but also important in the synthesis of many pharmaceuticals and other organic compounds. Thus, the ability to selectively activate and structurally modify amide bonds makes it possible to synthesize complex molecules with specific functional groups and properties. In this study, the amide bond activation and functionalization have been investigated under the combination of Ph3P and I2. The use of these inexpensive and readily available reagents is particularly attractive since it can reduce the cost and increase the accessibility of the synthetic route. Additionally, their ease of handling can make the synthesis process more convenient. The developed protocols have led to convenient syntheses of a range of valuable products including amidoximes, benzimidazoles, indoloquinazoline derivatives and C-12 spiro-γ -lactone. In the first study, N-substituted amidoximes were synthesized from secondary amides or intermediate amides. The use of a Ph3P-I2-mediated dehydrative condensation allows for the quick and mild conversion of these amides into N-aryl and N-alkyl amidoximes with a variety of substituents, such as aryl, alkyl, or benzyl. The one-pot approach is particularly advantageous, as it reduces the need for multiple steps and intermediate purification. The short reaction times and mild conditions are also desirable, as they minimize unwanted side reactions and the need for harsh reagents. In the next study, benzimidazolones were prepared via the Ph3P-I2 mediated reaction of hydroxamic acids. The reaction involves a Lossen-type rearrangement of the O-activated hydroxamic acids. Upon amide bond activation, the in situ generated isocyanates undergo an intramolecular attack by ortho N-nucleophiles producing the cyclized benzimidazolones in good yields under mild conditions. The method is advantageous as it allows for the direct preparation of a single regioisomer of N-monosubstituted derivatives using readily accessible starting materials and low-cost reagents. The broad substrate scope of the reaction also offers the potential for the synthesis of a variety of benzimidazolone derivatives with different substituents. Finally, through an amide bond activation using PPh3-I2 combination, diverse indoloquinazoline structures were readily synthesized. The method utilizes a phosphonium-mediated reaction of isatins in the presence of alcohol, which results in the formation of C-12 modified tryptanthrin derivatives. The reaction is versatile and allows for the construction of various C-12 functionalized indoloquinazolines using simple precursors and under mild, metal-free conditions. The use of excess phenols also enables the production of C-12 aryloxy ester products in moderate to good yields. The method also enables the synthesis of novel C-12 spiro-γ-lactone derivatives from fused bicyclic hydroxyaryl derivatives.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectAmideen_US
dc.subjectIodineen_US
dc.subjectBenzimidazolesen_US
dc.subjectIndoloquinazoline derivativesen_US
dc.subjectC-12 spiro-γ -lactone.en_US
dc.subjectTriphenylphosphineen_US
dc.titlePh3P-I2–mediated amide bond activation and functionalizationen_US
dc.title.alternativeการกระตุ้นและปรับเปลี่ยนพันธะเอไมด์ด้วยไตรฟีนีลฟอสฟีนและไอโอดีนen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAmides-
thailis.controlvocab.lcshIodine-
thailis.controlvocab.lcshBenzimidazoles-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractพันธะเอไมด์เป็นหมู่ฟังก์ชันที่สำคัญในทางเคมีอินทรีย์ ซึ่งเป็นองค์ประกอบในโมเลกุลทางชีวภาพมากมาย ได้แก่ โปรตีน เปปไทด์ และ กรดนิวคลีอิก นอกจากนั้นยังมีความสำคัญในการสังเคราะห์ยาและสารประกอบอินทรีย์ต่างๆ ดังนั้นการเลือกทำปฏิกิริยาของพันธะเอไมด์สามารถนำไปสู่การสังเคราะห์โมเลกุลที่ซับซ้อนได้ ในการศึกษานี้ได้มีการตรวจสอบการใช้ไตรฟีนิลฟอสฟีนและไอโอดีนในการกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาของพันธะเอไมด์ รวมถึงการปรับเปลี่ยนหมู่ฟังก์ชัน ซึ่งเป็นรีเอเจนต์ที่มีราคาถูก เข้าถึงได้ง่ายและช่วยเพิ่มการแนวทางในการสังเคราะห์สารอินทรีย์ได้มากขึ้น นอกจากนี้รีเอเจนต์ดังกล่าวยังง่ายต่อการควบคุมทำให้กระบวนการสังเคราะห์มีความสะดวกมากยิ่งขึ้น วิธีการดังกล่าวจะนำไปสู่การสังเคราะห์สารอินทรีย์ต่างๆ ได้แก่ อะมิดอกซีมส์ เบนซิมิดาโซล และอนุพันธ์ อินโดโลควินาโซลีน และคาร์บอน-12 สไปโรแอลฟาแลคโทน ในการศึกษาส่วนแรก เป็นการสังคราะห์ เอ็น-ซับสติติวอะมิดอกซีม จากเอไมด์ทุติยภูมิหรือตัวกลางเอไมด์ การใช้ไตรฟีนิลฟอสฟีนและไอโอดีนในปฏิกิริยาการควบแน่นดีไฮเดทีฟ สามารถนำไปสู่การสังเคราะห์ เอ็น-แอริล และ เอ็น-อัลคิลอะมิดอกซีม ได้อย่างรวดเร็วภายใต้สภาวะที่ไม่รุนแรง โดยวิธีการนี้สามารถใช้กับสารตั้งต้นที่หลากหลาย เช่น แอริล อัลคิล หรือ เบนซีน นอกจากนั้น อะมิดอกซีมยังสามารถสังเคราะห์ผ่านวิธีการวัน-พอทซึ่งมีข้อดีหลายประการ ได้แก่ ลดขั้นตอนในการสังเคราะห์ ใช้เวลาในการสังเคราะห์ที่สั้น และยังหลีกเลี่ยงการทำปฏิกิริยาในสภาวะที่รุนแรงซึ่งจะช่วยลดปฏิกิริยาข้างเคียงที่ไม่ต้องการได้ ในการศึกษาถัดมา คือการสังเคราะห์เบนซิมิดาโซโลนจากกรดไฮดรอกซามิกโดยใช้ไตรฟีนิลฟอสฟีนและไอโอดีน โดยเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาการเรียงตัวใหม่แบบ ลอว์สัน ที่ตำแหน่งออร์โธของกรดไฮดรอกซามิก เมื่อมีการกระตุ้นพันธะเอไมด์ สารตั้งต้นไอโซไซยาเนตจะเกิดการปิดวงภายในโมเลกุลโดยการเข้าชนของ ออร์โธ เอ็น-นิวคลีโอไฟล์ ให้ร้อยละผลผลิตเบนซิมิดาโซโลนในระดับที่ดี ภายใต้สภาวะที่ไม่รุนแรง ซึ่งข้อดีของวิธีการนี้คือช่วยให้สามารถเตรียม รีจิโอไอโซเมอร์ที่มีหมู่แทนที่ที่หนึ่งหมู่บนไนโตรเจนได้โดยตรงโดยใช้สารตั้งต้นที่เข้าถึงได้ง่ายและรีเอเจนต์ที่ราคาไม่แพง ในการศึกษาส่วนสุดท้าย เป็นการสังเคราะห์อนุพันธ์อินโดโลควินาโซลีน โดยการใช้ไตรฟีนิลฟอสฟีนและไอโอดีน วิธีการนี้ตัวกลางฟอสโฟเนียมของไอซาตินจะทำปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์ ทำให้เกิดอนุพันธ์ทริปแทนทริน ที่มีการปรับเปลี่ยนหมู่ฟังก์ชันที่คาร์บอน- 12 ปฏิกิริยานี้สามารถสังเคราะห์สารอินโดโลควินาโซลีนที่มีความหลากหลายได้โดยใช้สารตั้งต้นที่เรียบง่ายภายใต้สภาวะที่ไม่รุนแรงและปราศจากโลหะ และนอกจากนั้นการใช้ฟีนอลในปริมาณที่มากเกินพอในปฏิกิริยายังนำไปสู่การสังเคราะห์ คาร์บอน-12 แอริลออกซี เอสเทอร์ ซึ่งให้ผลผลิตปานกลางถึงดี อีกทั้งวิธีการนี้ยังช่วยในการสังเคราะห์อนุพันธ์ สไปโร-แอลฟา-แลคโทน ที่แปลกใหม่จากอนุพันธ์ของไบไซคลิกไฮดรอกซีแอลิล  en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590551079 - nittaya wiriya .pdf6.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.