Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78204
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิริยะ ยาวิราช | - |
dc.contributor.advisor | ธีรวรรณ บุญญวรรณ | - |
dc.contributor.advisor | กุลภพ สุทธิอาจ | - |
dc.contributor.author | ขวัญชนก คูณรังษีสมบูรณ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-28T10:10:07Z | - |
dc.date.available | 2023-06-28T10:10:07Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78204 | - |
dc.description.abstract | Objective: This study sought to investigate the effect of immersion time in simulated body fluid (SBF) on the adhesion strength of hydrothermally treated hydroxyapatite-titanium nitride (HA-TiN) films on polyetheretherketone (PEEK) substrates. Materials and methods: The HA-TiN films were deposited on PEEK substrates via magnetron sputtering and annealed with hydrothermal treatment. The crystalline phase and element compositions on the deposited films were confirmed by X-ray diffractometry (XRD) and X-ray photoelectron spectroscopy (XPS). The samples were then immersed in SBF at 37*C for 7 to 56 days, where the surface characterization and chemical composition of the films were analyzed using scanning electron microscopy (SEM), atomic force microscopy (AFM), and XPS. After the in vitro degradation in SBF, the adhesion strength between HA-TiN films and PEEK substrates were measured by a universal testing machine and further investigated the failure mode using a stereomicroscope and SEM. Results: The results demonstrated the improvement of crystallinity on HA-TiN sputtered films after hydrothermal treatment. After immersion in SBF, the coating surface revealed some nucleation without any detachment and exhibited an increase of surface roughness. The hydroxyapatite and titanium dioxide were revealed on the surface throughout 56 days, while the Ca/P ratio decreased and remained constant during immersion. The adhesion strength did not significantly differ in all groups. Conclusion: The hydrothermally treated HA-TiN sputtered films on PEEK substrates showed the stability of adhesion strength throughout 56 days in simulated physiological conditions. The dissolution and precipitation during immersion represented the favorable characteristics of the films in the orthopedic or dental application. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลของเวลาการแช่ในสารละลายจำลองไอออนพลาสมาของเลือดมนุษย์ต่อความแข็งแรงยึดติดของฟิล์มไฮดรอกซีอะพาไทต์-ไทเทเนียมไนไตรด์ที่ทำ ไฮโดรเทอร์มอลบนพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตน | en_US |
dc.title.alternative | Effect of immersion time in simulated body fluid on adhesion strength of Hydrothermally Treated Hydroxyapatite-Titanium Nitride Films on Polyetheretherketone | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การยึดติด | - |
thailis.controlvocab.thash | ฟิล์มบาง | - |
thailis.controlvocab.thash | ไฮดรอกซีอะพาไทต์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ไทเทเนียมไนไตรด์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของเวลาการแช่ในสารละลายจำลองไอออนพลาสมาของเลือดมนุษย์ต่อ ความแข็งแรงยึดติดระหว่างฟิล์มไฮดรอกซีอะพาไทต์-ไทเทเนียมไนไตรด์ที่ทำไฮโครเทอร์มอลและ วัสดุรองรับพอลิอีเทอร์อีเทอร์ดีโตน (พีอีอีเค) ระเบียบวิธีวิจัยและวิธีการศึกษา: เตรียมชื้นตัวอย่างโดยการเคลือบฟิล์มไฮดรอกซีอะพาไทต์- ไทเทเนียมในไตรด์บนพีอีอีเคด้วยวิธีแมกนีตรอนสปัตเตอริงร่วมกับทำไฮโดรเทอร์มอล วิเคราะห์ ความเป็นผลึกและองค์ประกอบทางเคมีของชั้นเคลือบด้วยเครื่องวิเคราะห์การเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ และเครื่องวิเคราะห์วัสดุนาโนโดยเทคนิคสเปกโตรสโกปีของอนุภาคอิเล็กตรอนที่ถูกปลดปล่อยด้วย รังสีเอกซ์ (เอกซ์พีเอส) นำชิ้นตัวอย่างไปแช่ในสารละลายจำลองไอออนพลาสมาของเลือดมนุษย์ ที่ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเชียส เป็นระยะเวลา 7 ถึง 56 วัน วิเคราะห์ลักษณะพื้นผิวและองค์ประกอบทาง เคมีของชั้นเคลือบด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม และ เครื่องวิเคราะห์วัสดุนาโนโดยเทคนิคเอกซ์พี่เอส จากนั้นนำไปทดสอบหาความแข็งแรงยึดติดของชั้น เคลือบด้วยเครื่องทดสอบสากล และประเมินความล้มเหลวของการยึดติดโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ แบบสเตอริ โอและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด ผลการศึกษา: ชั้นเคลือบที่ผ่านการทำไฮโดรเทอร์มอล พบว่ามีความเป็นผลึกเพิ่มขึ้น ภายหลังการแช่ ในสารละลายจำลองไอออนพลาสมาของเลือดมนุษย์ พบนิวคดีเอชันบนพื้นผิวโดยไม่มีการหลุดลอก ของชั้นเคลือบ มีความหยาบพื้นผิวเพิ่มขึ้น พบไฮดรอกชีอะพาไทต์และไทเทเนียมไดออกไซด์บน พื้นผิวตลอดระยะเวลาการแช่ 56 วัน มีการลดลงของอัตราส่วนแคลเซียมต่อฟอสฟอรัสจากกลุ่ม ควบคุม แต่มีค่าที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างกลุ่มที่ผ่านการแช่ และพบว่าความ แข็งแรงยึดของชั้นเคลือบไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทุกกลุ่ม บทสรุป: ฟิล์มไฮดรอกซีอะพาไทต์-ไทเทเนียมไนไตรด์บนพีอีอีเคที่เคลือบผิวด้วยวิธีแมกนีตรอน สปัตเตอริงและทำไฮโดรเทอร์มอล มีความแข็งแรงยึดติดของชั้นเคลือบที่เสถียรตลอดระยะเวลา 56 วันในสารละลายจำลองไอออนพลาสมาของเลือดมนุษย์ นอกจากนั้น พบการละลายและการสะสม กลับของธาตุองค์ประกอบบนพื้นผิวชั้นเคลือบในระหว่างการแช่ ซึ่งแสดงถึงถักษณะที่เป็นประโยชน์ ต่อการนำไปใช้ในทางออร์โธปีดิกส์หรือทางทันตกรรม | en_US |
Appears in Collections: | DENT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620931011 ขวัญชนก คูณรังษีสมบูรณ์.pdf | 6.96 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.