Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78203
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Payakorn Saksuriya | en_US |
dc.contributor.author | Radom Pongvuthithum | en_US |
dc.contributor.author | Thanasak Mouktonglang | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-28T10:09:46Z | - |
dc.date.available | 2023-06-28T10:09:46Z | - |
dc.date.issued | 2023-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78203 | - |
dc.description.abstract | Thailand has been developing into a super-aged society. Consequently, home health care (HHC) will be the basis for maintaining the stability of the healthcare system. Care staff must visit the patient's home to provide services. In addition, patients need assistance within the specified time frame (called time window) for activities such as dressing, treatment plans, and bathing. With time windows, the HHC problem could become a vehicle routing problem with time windows (VRPTW) as the vehicle represents the care staff, while the customer represents a patient. The VRPTW aims to find the lowest cost for each vehicle. Each vehicle must follow a time limitation which must arrive within the given time range. Each customer node must be visited exactly once. Since the problem is a well-known NP-Hard problem, many approaches have been proposed and studied. Two successful approaches are heuristics and metaheuristics. In this thesis, several heuristics and metaheuristics are presented, namely, inserting, swapping, moving, Or-exchange, ruin and recreate, path relinking, and particle swarm optimization. To assess performance, the well-known benchmark by Solomon is used and results are compared to state-of-the-art algorithms. In addition, the original objective function of VRPTW (minimizing total cost) may not be suitable to HHC's real-world scenarios. To rectify this, two scheduling objective functions corresponding to time (minimizing the total number of tardy jobs and total completion time) are considered together with VRPTW. Moreover, an instance of the HHC system based in Chiang Mai, Thailand is simulated. The proposed algorithm finds optimal solutions in almost all 25-node cases and near-optimal solutions in most of 50- and 100-node cases. The results also suggest that reducing total completion time will reduce finishing time and increase care staff waiting time, which will increase staff satisfaction. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Solving vehicle routing problem with due dates by job scheduling approach | en_US |
dc.title.alternative | การแก้ปัญหาการจัดเส้นทางเดินรถที่มีกำหนดส่งโดยแนวทางการจัดลำดับงาน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Choice of transportation | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Route choice | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Care of the sick | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | เนื่องจากประเทศไทยกำลังพัฒนาเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพที่บ้านจึงเป็นพื้นฐานสำคัญในการรักษาเสถียรภาพของระบบการรักษาพยาบาล โดยเจ้าหน้าที่จะต้องเดินทางไปยังบ้านของผู้ป่วยเพื่อให้บริการ ซึ่งในการดูแลผู้ป่วยที่บ้านนั้นผู้ป่วยจะต้องได้รับบริการภายในระยะเวลาที่กำหนด เช่น การแต่งกาย การรักษา และการอาบน้ำ ทำให้ปัญหาการดูแลสุขภาพที่บ้านนั้นสามารถแปลงเป็นปัญหาจัดเส้นทางเดินรถที่มีกรอบเวลาได้ โดยที่มองรถเป็นเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และมองจุดลูกค้าเป็นจุดผู้ป่วย โดยปัญหาการจัดเส้นทางเดินรถที่มีกรอบเวลานั้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อจัดเส้นทางให้มีค่าใช้จ่ายรวมที่ต่ำที่สุด ซึ่งยานพาหนะแต่ละคันต้องปฏิบัติตามกำหนดเวลาที่กำหนด และลูกค้าแต่ละคนจะต้องมียานพาหนะมาเยือนเพียงครั้งเดียวเท่านั้น เนื่องจากปัญหานี้เป็นปัญหาเอ็นพีแบบยาก งานวิจัยนี้จึงมีการนำเสนอฮิวริสติกซึ่งประกอบไปด้วย วิธีการแลกเปลี่ยน วิธีการเคลื่อนที่ การทำลายและสร้างใหม่ และ วิธีการสลับเส้น และใช้วิธีค้นหาค่าเหมาะสมแบบกลุ่มอนุภาค โดยที่จะทดสอบทดสอบประสิทธิภาพกับตัวอย่างปัญหาของโซโลมอน และเปรียบเทียบกับคำตอบที่ดีที่สุด เนื่องจากฟังก์ชันวัตถุประสงค์เดิมของการจัดเส้นทางเดินรถ (การลดค่าใช้จ่ายรวมให้น้อยที่สุด) อาจใช้ไม่ได้กับสถานการณ์จริงของระบบการดูแลสุขภาพที่บ้าน ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงตั้งใจที่จะพิจารณาฟังก์ชันวัตถุประสงค์ของการจัดตารางเวลา ประกอบไปด้วย การหาจำนวนงานที่ล่าช้าน้อยที่สุด และการหาผลรวมของเวลาเสร็จงานที่น้อยที่สุด นอกจากนี้งานวิจัยนี้ยังได้นำเสนอปัญหาจริง ซึ่งจำลองมาจากระบบดูแลสุขภาพที่บ้านในจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย ผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่าขั้นตอนวิธีที่เสนอมานั้นสามารถค้นหาคำตอบที่ดีที่สุดได้เกือบทุกปัญหาในกรณีที่มีจุดลูดค้า 25 จุด และยังสามารถค้นหาคำตอบที่ใกล้เคียงกับคำตอบที่ดีที่สุดในกรณีที่มีจุดลูกค้า 50 และ 100 จุด นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังชี้ให้เห็นว่าการลดเวลาเสร็จงานรวม จะส่งผลให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีเวลาพักมากขึ้น ซึ่งช่วยเพิ่มความพึงพอใจให้กับเจ้าหน้าที่ได้ | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600551021-PAYAKORN SAKSURIYA.pdf | 2.58 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.