Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78161
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี | - |
dc.contributor.author | อนันทภพ กิติกาศ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-25T08:56:29Z | - |
dc.date.available | 2023-06-25T08:56:29Z | - |
dc.date.issued | 2022-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78161 | - |
dc.description.abstract | Tai Lue is considered a group of Tai people who migrated for a long time ago. Additionally, they accepted cultural exchanges with dynamic architectural styles in different contexts. This article aimed to study the dynamic of vernacular architecture Thai Lue houses in Ban Huai Meng, Chiang Rai Province. It consisted of an analysis of the house plan, the shapes of the house, structures, materials, and folk wisdoms inside those houses to develop the understanding of typical architectural styles brought by acceptance of Lanna culture. It was regarded as the qualitative research through the field surveys by selecting a total of 15 houses aged over 20 years. The surveys and interviews with folk scholars, community leaders and house owners were accordingly conducted. Afterwards, the data obtained from the field surveys were analyzed through the data classifications to investigate the changing architectural styles before the data from the literature reviews on the dynamics of vernacular architecture were synthesized. The research results were divided into 6 aspects: 1) the house plan settlement; 2) the physical shapes of the houses; 3) the floor plans and sequential access; 4) the structures and materials; 5) lifestyles and space utilization in the house; and 6) development of the house. Regarding the dynamic changes of the vernacular architecture Thai Lue houses, the first change was their physical shape, including structures and materials. A consideration over the space plans and lifestyles showed that the original styles still remained due to traditional lifestyles passed on in the form of space utilization and sequential access in the house. In addition, the words used to call the components of the house, daily lifestyles, and folk beliefs are still observable until the modern days. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเรือนไทลื้อ บ้านห้วยเม็ง จังหวัดเชียงราย | en_US |
dc.title.alternative | Tai Lue Vernacular House in Baan Huai Meng, Chiang Rai Province | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | สถาปัตยกรรม -- เชียงราย | - |
thailis.controlvocab.thash | บ้าน -- เชียงราย | - |
thailis.controlvocab.thash | ไทลื้อ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ไทลื้อเป็นกลุ่มไทที่มีการอพยพย้ายถิ่นฐานมาอย่างยาวนาน มีการแลกรับวัฒนธรรมจนมี พลวัตทางสถาปัตยกรรมที่แตกต่างไปตามบริบท บทความนี้ศึกษาลักษณะเฉพาะของเรือนไทลื้อใน พื้นที่บ้านห้วยเม็ง จังหวัดเชียงราย ประกอบด้วยการวิเคราะห์ ผังบ้าน รูปทรงของเรือน ผังพื้น โครงสร้าง วัสดุ และภูมิปัญญาภายในเรือน เพื่อให้เกิดความเข้าใจในรูปแบบสถาปัตยกรรมที่มีความ เฉพาะตัวจากการรับเอาวัฒนธรรมล้านนา วิธีวิจัยเป็นวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสำรวจภาคสนามโดย เลือกจากเรือนที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป จำนวน 15 หลังคาเรือน ใช้การสำรวจและการสัมภาษณ์กลุ่ม ปราชญ์ ผู้นำชุมชนและเจ้าเรือน แล้วนำข้อมูลที่ได้จากภาคสนามมาวิเคราะห์ โดยแยกแยะและจัดเรียง ข้อมูล วิเคราะห์ถึงความเปลี่ยนแปลงของรูปแบบสถาปัตยกรรมไปตามปัจจัย แล้วสังเคราะห์ ข้อมูลที่ ได้จากวรรณกรรม เกี่ยวกับพลวัตของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ผลการวิจัยแบ่งได้เป็น 6 ประเด็นคือ 1) การตั้งถิ่นฐานผังบ้าน 2) รูปทรงทางกายภาพของ เรือน 3) ผังพื้นและลำดับการเข้าถึง 4) โครงสร้างและวัสดุ 5) วิถีชีวิตกับพื้นที่ใช้สอยในเรือน 6) พัฒนาการของเรือน พลวัตการเปลี่ยนแปลงของสถาปัตยกรรมพื้นที่ไทโดยเฉพาะในเรือนพักอาศัย สิ่งที่ถูกปรับเปลี่ยนเป็นอันดับแรก คือ รูปทรงทางกายภาพ รวมถึงโครงสร้างและวัสดุ แต่เมื่อพินิจ พิเคราะห์จากแบบแผนที่ว่างและวิถีชีวิต ยังคงพบว่ามีรูปแบบดั้งเดิมหลงเหลืออยู่เนื่องจากยังคงมีวิถี ชีวิตแบบดั้งเดิมที่สืบต่อกันมารูปแบบของผังพื้นที่ใช้สอยภายในเรือนลำดับการเข้าถึงภายในเรือน รวมถึงภาษาที่ใช้เรียกขานองค์ประกอบของเรือน จารีตประเพณีในวิถีชีวิตประจำวัน คติความเชื่อ ต่างๆ ยังคงมีอยู่ และสืบทอดมาจนปัจจุบัน | en_US |
Appears in Collections: | ARC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611731008 อนันทภพ กิติกาศ.pdf | 21.12 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.