Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78071
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorParavee Maneejuk-
dc.contributor.advisorWoraphon Yamaka-
dc.contributor.authorPattamanan Saraeken_US
dc.date.accessioned2023-06-19T01:10:19Z-
dc.date.available2023-06-19T01:10:19Z-
dc.date.issued2021-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78071-
dc.description.abstractThis paper investigates the relationship between economic growth and air pollution under the Environmental Kuznets curve hypothesis (EKC). This paper focuses on OECD countries, which have high levels of economic growth and a high concentration of air pollution monitoring. This paper attempts to see the link between economic growth and air pollution using the data covering 1980 to 2015. We use the panel kink regression to investigate the inverted U-shape curve between income per capita and sulphur dioxide emissions. The results of the test for kink effect indicate that the impact of economic growth on sulphur dioxide emission can be separated into two regimes, while the other variables have a linear relationship with OECD sulphur dioxide emission. The study, thus, constructs the empirical model with the kink effect in economic growth. To confirm the performance of panel kink regression, we employ three models including pooling, fixed effect, and random effect model. The empirical results indicate that there exists both significantly negative and positive relationship between economic growth and Sulphur dioxide for regime 1 or low economic growth, which is income per capita less than 26,338.8417 US$, will causes high sulphur dioxide emissions. Moreover, regime 2 or high economic growth, which is income per capita greater than 26,338.8417 US$. It will causes the reduction of sulphur dioxide emissions. Furthermore, our result shows that there is an inverted U-shape between income per capita and sulphur dioxide emissions. Furthermore, the increase in the population of the OECD member countries has influenced the reduction of sulphur dioxide emissions. It also found that three countries had per capita incomes below 26,338.8417 US$. There is a budget deficit problem, which could not solve economic and environmental problems, including the Hellenic Republic (Greece), the Republic of Turkey, the Republic of Portugal. This study has suggestions as follows. First, reduce government expenditures on welfare state programs. Second, the government should encourage the development of the quality of employers and workers. Last, the government should participate in projects that limit air pollution emissions and support businesses and the people's sector to use the clean energy.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectEconomic growthen_US
dc.subjectKuznets curveen_US
dc.subjectAir pollutionen_US
dc.titleAnalyzing the relationship between economic growth and air pollution under the environmental Kuznets Curve Hypothesisen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและมลพิษทางอากาศภายใต้สมมติฐานเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมของคุชเน็ตส์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAir – Pollution -- Economic aspects-
thailis.controlvocab.lcshKuznets curve hypothesis-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัญหามลพิษทางอากาศที่เพิ่มขึ้นทั่วโลกรวมถึงกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for economic Co-operation and development หรือ (OECD) ที่มีการเจริญเดิบโตทางเศรษฐกิจและใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการติดตามผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางอากาศในทางตรงกันข้ามพบว่ามีการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์อย่างต่อเนื่อง และเป็นสาเหตุที่กระทบต่อสุขภาพของแรงงาน ภาคการผลิต และภาคเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศสมาชิก OECD ดังนั้นวิทยานิพนธ์ถบับนี้ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเดิบโตทางเศรษฐกิจและการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ภายใต้สมมติฐานเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมของคุชเน็ดส์ กรณีศึกษาในกลุ่มประเทศสมาชิก OECD จำนวน 22 ประเทศโดยใช้แบบจำลอง panel kink regression เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในการศึกษานี้ แบบจำลองนี้เป็นแบบจำลองถดถอยไม่เป็นเชิงเส้นที่สามารถวิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและมลพิษทางอากาศภายใต้สมมติฐานเศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อมของคุชเน็ตส์ได้ดีกว่าแบบจำลองถดถอยเชิงเส้นจากการศึกษาพบกว่ากลุ่มประเทศสมาชิก OECD มีลักษณะความสัมพันธ์ของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ 1.การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่ำหรือรายได้ประชากรต่อหัวต่ำกว่า 26,338.841 7 ดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลให้เกิดการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์เพิ่มขึ้น 2.การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูง หรือรายได้ประชากรต่อหัวสูงกว่า 26,338.841 7 ดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลทำให้เกิดปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซค์ลดลงซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมของคุชเน็ตส์ และการเพิ่มขึ้นของประชากรในกลุ่มประเทศสมาชิก OECD มีอิทธิพลทำให้เกิดการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ลดลง นอกจากนี้ยังพบว่ามี 3 ประเทศที่มีรายได้ต่อหัวต่ำกว่า 26,338.841 7 ดอลลาร์สหรัฐ มีปัญหางบประมาณขาดดุลซึ่งส่งผลทำให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมได้ ได้แก่ สาธารณรัฐเฮลเลนิก(กรีช), สาธารณรัฐตุรกี, สาธารณรัฐโปรตุเกส ซึ่งการศึกษานี้มี ข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ลดรายจ่ายของรัฐบาลที่ใช้ไปกับโครงการรัฐสวัสดิการ 2.สนับสนุนให้มีการพัฒนาคุณภาพของนายจ้างและแรงงาน 3. เข้าร่วมโครงการที่จำกัดการปล่อยมลพิษทางอากาศและสนับสนุนภาคธุรกิจและภาคประชาชนที่หันมาใช้พลังงานสะอาดแทนพลังงานที่ ใช้แล้วหมดไปเช่นถ่านหินและเชื้อเพลิงฟอสซิลen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611635905 ปัทมนันท์ สาแรก.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.