Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78058
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชญาภรณ์ กลั่นกลิ่น-
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ วรรณวิไลรัตน์-
dc.contributor.authorสิรดา เขียนเมืองน้อยen_US
dc.date.accessioned2023-06-16T01:07:36Z-
dc.date.available2023-06-16T01:07:36Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78058-
dc.description.abstractIn radiotherapy for left sided breast cancer, the radiation dose of heart and left anterior descending artery (LAD) are major concerns. This study investigated the use of the Abdominal Compression (AC) and moderate deep inspiration breath hold technique (mDIBH+AC) in left side breast cancer radiotherapy. The primary objective was to evaluate an increasing of the heart to chest wall distance by using mDIBH+AC along with the relationship between respiratory amplitude and the heart to chest wall distance. The secondary objective was to assess the radiation doses delivered to the heart and LAD and times of deep inspiration breath hold. Eleven patients with left sided breast cancer were enrolled in our study. CT simulation and record respiratory signal with Anzai Belt system in 3 data sets: Free breath (FB), Deep inspiration breath hold (DIBH) and moderate deep inspiration breath hold with abdominal compression (mDIBH+AC) were done in each patient. Respiratory signal was analyzed with Fourier Transform technique. The time of breath hold was compared between DIBH and mDIBH+AC. Then, the heart to chest wall distance and radiation doses of the heart and LAD from the radiation treatment plans were evaluated. The average heart to chest wall distances were 0.46, 0.99 and 0.97 cm. for FB, DIBH and mDIBH+AC, respectively. We found a moderate positive correlation between respiratory amplitude and the heart to chest wall distance with a statistically significant Pearson correlation coefficient 0.623. Using mDIBH+AC reduced Dmean, Dmax,V20Gy and V30Gy of the heart by 6.64%, 4.23%, 31.17% and 53.33%, respectively and Dmean, Dmax and D2% on LAD by 18.39 %, 16.31% and 14.39%, respectively when compared with FB. Besides, most patients (63.6%) revealed a longer time of breath hold than DIBH. From our study, the AC is effective to increase the heart to chest wall distance including reducing radiation dose to the heart and LAD compared with FB. Moreover, the advantage of AC is improving of reproducibility and stability of mDIBH.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectมะเร็งเต้านมen_US
dc.subjectแอมพลิจูดการหายใจen_US
dc.subjectการฉายรังสีมะเร็งen_US
dc.titleความเป็นไปได้ในการเพิ่มระยะห่างของหัวใจกับผนังทรวงอกและความสัมพันธ์ของแอมพลิจูดการหายใจกับระยะห่างของหัวใจกับผนังทรวงอกในการฉายรังสีมะเร็งเต้านมซ้ายโดยการใช้อุปกรณ์กดหน้าท้องen_US
dc.title.alternativeFeasibility of Increasing Heart to Chest Wall Distance and Relationship Between Respiratory Amplitude and Heart to Chest Wall Distance in Left Breast Cancer Radiotherapy Using Abdominal Compressionen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเต้านม – มะเร็ง-
thailis.controlvocab.thashหัวใจ -- การรักษา-
thailis.controlvocab.thashการหายใจ-
thailis.controlvocab.thashการหายใจ – การวัด-
thailis.controlvocab.thashการฉายรังสี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในการฉารังสีมะเร็งต้านมช้าย ปริมาณรังสีที่หัวใจ และหลอดเลือดหัวใจซ้าย (LAD) เป็นปัญหาที่สำคัญ งานวิจัชนี้ ได้ศึกษาการใช้อุปกรณ์กดหน้าท้อง (AC) กับเทคนิดหายใจเข้าลึกระดับปานกลาง(mDIBH+AC) ในการฉายรังสีมะเร็งเต้านมซ้าย โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือประเมินการเพิ่มระยะห่างของหัวใจกับผนังทรวงอกเมื่อใช้ทคนิด mDIBH+AC พร้อมทั้งหาความสัมพันธ์ของแอมพลิจุดการหายใจกับระยะห่างของหัวใจกับผนังทรวงอก วัตถุประสงค์รอง คือประเมินการ ได้รับปริมาณรังสีบริเวณหัวใจและหลอดเลือดหัวใจช้าย และระยะเวลาของการหายใจเข้าถึงแล้วกลั้นลมหายใจค้าง ศึกยาในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมช้าย จำนวน 11 ราย โดยจำลองการรักษาด้วยเครื่องเอกซรย์คอมพิวเตอร์ และบันทึกสัญญาณการหายใจด้วยระบบ Anzai Belt สามชุดข้อมูลคือ หายใจอิสระ (Free Breath: FB), หายใจเข้าลึกสุดแล้วกลั้นลมหายใจค้าง (DIBH) และหายใจเข้าสึกระดับปานกลางร่วมกับอุปกรณ์กดหน้าท้อง (mDIBH+AC) ในผู้ป่วยแต่ละราย จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลสัญญาณการหายใจด้วยเทคนิดฟูเรียร์ทรานสฟอร์ม เปรียบเทียบระยะเวลาการกลั้นลมหายใจระหว่าง DIBH กับ mDIBH+AC แล้วประเมินระยะห่างของหัวใจกับผนังทรวงอกและปริมาณรังสีที่หัวใจและหลอดเลือดหัวใจซ้ายจากแผนการฉายรังสื การศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยระยะห่างของหัวใจกับผนังทรวงอกมีค่า 0.46, 0.99 และ 0.97 ซม. สำหรับFB, DIBH และ mDIBH+AC ตามลำดับ พบความสัมพันธ์ระหว่างแอมพลิจูดการหายใจกับระยะห่างของหัวใจกับผนังทรวงอก เชิงบวกอยู่ในระดับปานกลางอย่างมีนัชสำคัญทางสถิติ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ Pearson เท่ากับ 0.623 นอกจากนี้เทดนิต mDIBH+AC เมื่อเทียบกับเทคนิค FB ยังสามารถลดค่า Dmean, Dmax,V20Gy and V30Gy ที่หัวใจ ลง 6.64%, 4.23 %, 31.17%และ 53.33% ตามลำดับ และลดค่า Dmean, Dmax and D2% ที่หลอดเลือดหัวใจซ้าย ลง 18.39 % , 16.31% และ 14.39% และผู้ป่วยส่วนใหญ่(63.6%) แสดงให้เห็นว่ามีระชะเวลาการกลั้นลมหายใจค้างนานกว่าเทดนิด DIBH จากการศึกยานี้การใช้ AC มีประสิทธิภาพในการเพิ่มระยะห่างของหัวใจกับผนังทรวงอก รวมถึงลดปริมาณรังสีที่หัวใจ และหลอดเลือดหัวใจช้ายได้เมื่อเทียบกับเทคนิค FB นอกจากนี้ ข้อดีของ AC ยังช่วยให้การทำ mDIBH สามารถทำซ้ำได้ง่าย และมีระดับที่คงที่ยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610731020 สิรดา เขียนเมืองน้อย.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.