Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78057
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอกสิทธิ ธราวิจิตรกุล-
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ วรรณวิไลรัตน์-
dc.contributor.authorชัยพร ปินตาคำen_US
dc.date.accessioned2023-06-16T01:04:41Z-
dc.date.available2023-06-16T01:04:41Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78057-
dc.description.abstractThis research compares dosimetric parameters of a brachytherapy planning for cervical cancer between the volumetric computed tomography method and the transabdominal ultrasound point method. The computed tomography and transabdominal ultrasonography datasets were studied in 59 datasets from 38 patients which measured the cervical reference point from transabdominal ultrasonography. Each dataset was planned with two brachytherapy planning methods. The volume method from computed tomography prescribed that the HR-CTV was given a dose of at least 7 Gray, and the point-based from transabdominal ultrasonography prescribed that all cervical reference points received at least 7 Gray. Then compare the dosimetric variables. HR-CTV were determined by D100, D98, D95, D90 and D50. For organs at risk, including the bladder, rectum, and sigmoid colon, were determined by D0.1cc, D1cc, and D2cc. The results showed that in the HR-CTV, the mean D100, D98, D95, D90 and D50 from the brachytherapy planning using the transabdominal ultrasonography were 6.0±1.1 Gray, 7.0±1.2 Gray, 7.6±1.2 Gray, 8.2±1.2 Gray, and 13.1±1.9 Gray, respectively. In the computed tomography method, the mean D100, D98, D95, D90 and D50 were 5.0±0.3 Gray, 5.9±0.2 Gray, 6.4±0.1 Gray, 7.0±0.0 Gray, and 11.2±0.6 Gray, respectively. The relationship between the mean radiation dose at the cervical reference point and the HR-CTV was found. The mean radiation dose at the cervical reference point was close to D98 of the HR-CTV with a difference of 0.6±16.5 percent. For organ at risk consideration, mean bladder D0.1cc, D1cc, and D2cc from the planning using transabdominal ultrasonography method were 8.2±1.9 grey, 6.9±1.4 gray and 5.9±1.6 Gray respectively and from the volumetric image from computed tomography method, the values were 7.0±1.5 Gray, 5.6±1.1 Gray, and 4.9±0.9 Gray, respectively. Mean D0.1cc, D1cc, and D2cc of the rectum from the planning using transabdominal ultrasonography method were 5.0±1.5 Gray, 3.9±1.1 Gray, and 3.4±1.0 Gay. respectively and from the volumetric image from computed tomography method, the values were 4.3±1.3 Gray, 3.3±1.0 Gray, and 2.9±0.9 Gray, respectively. The mean D0.1cc, D1cc, and D2cc of the sigmoid colon from the planning using the transabdominal ultrasonography method were 5.6±1.7 Gray, 4.4±1.3 Gray, and 3.9±1.2 Gray respectively and from the volumetric image from computed tomography method, the values were 4.7±1.2 Gray, 3.7±0.9 Gray and 3.3±0.8 Gray, respectively. For the uniformity index and the conformal index, it was found that in the planning using the transabdominal ultrasonography method, the mean values were 0.29±0.10 and 0.32±0.06, respectively, and using volumetric computed tomography method, the mean values were 0.39±0.06 and 0.36. ±0.06, respectively. Both index of these two methods were statistically significant difference. From this comparative studied it was found that all dosimetric parameters in the brachytherapy planning using transabdominal ultrasonography method were statistically significantly higher than the volumetric computed tomography method.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectCervical cancer brachytherapyen_US
dc.subjectTomographyen_US
dc.subjectTransabdominal ultrasounden_US
dc.subjectตัวแปรเชิงรังสีคณิตen_US
dc.subjectมะเร็งปากมดลูกen_US
dc.titleการเปรียบเทียบตัวแปรเชิงรังสีคณิตของแผนรังสีรักษาระยะใกล้สำหรับมะเร็งปากมดลูกระหว่างวิธีใช้ภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์กับวิธีใช้ภาพคลื่นเสียงความถี่สูงทางหน้าท้องen_US
dc.title.alternativeDosimetric comparison of cervical cancer brachytherapy treatment planning between computerized tomography based and transabdominal ultrasound baseden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashปากมดลูก -- มะเร็ง-
thailis.controlvocab.thashมะเร็ง -- การรักษาด้วยรังสี-
thailis.controlvocab.thashการรักษาด้วยรังสี-
thailis.controlvocab.thashการบำบัดด้วยแสง-
thailis.controlvocab.thashการแผ่รังสี – ขนาดการใช้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้เป็นการเรียบเทียบตัวแปรเชิงรังสีบิคณิตของแผนรังสีรักษาระยะใกล้สำหรับมะเร็งปากมดลูกระหว่างวิธีใช้ปริมาตรจากภาพอกซเรย์คอมพิวเตอร์กับวิธี ใช้จุดจากภาพคลื่นเสียงความถี่สูงทางหน้าท้อง โดยศึกษาชุดข้อมูลภาพอกชรย์คอมพิวเตอร์และภาพคลื่นเสียงความที่สูงทางหน้าท้อง 59 ชุดข้อมูล จากผู้ป่วย 38 รายที่ได้ทำการวัดจุดอ้างอิงของปากมดถูกจากภาพคลื่นเสี่ยงความถี่สูงทางหน้าท้อง แต่ละชุดภาพข้อมูลได้รับการวางแผนรังสีระยะ ใกล้ 2 วิธี โดยวิธีใช้ปริมาตรจากภาพเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์จะกำหนดให้ปริมาตรเป้าหมาชความเสี่ยงสูง (HR-CTV) ได้รับปริมาณรังสีอย่างน้อย 7 เกรย์ และวิธีการใช้จุดจากภาพคลื่นเสี่ยงความถี่สูงทางหน้ท้องจะกำหนดให้จุดฮังอิงของปากมดลูกทั้งหมดด้รับปริมาณรั่งสีอย่างน้อย 7 เกรย์ จากนั้นเปรียบเทียบตัวแปรเชิงรังสีคณิต โดยปริมาตรเป้าหมายความเสี่ยงสูงจะพิจารณาจาก D100, D98, D95, D90 และ D50 สำหรับอวัยวะปกติข้างเคียง ได้แก่ กระเพาะปัสสาวะ ลำไส้ตรง และลำไส้ส่วนซิกมอยค์ พิจารณาจาก D0.1 cc, D1cc และ D2cc ผลการวิจัยพบว่า ในปริมาตรเป้าหมายความเสี่ยงสูง ค่าเฉลี่ย D100, D98, D95, D90 และ D50 จากแผ่นรังสีรักษาระยะใกล้วิธีใช้จุดจากภาพคลื่นเสียงความถี่สูงทางหน้าท้องมีค่า 6.0+- 1.1 เกรย์, 7.0+-1.2 เกรย์, 7.6+-1.2 เกรย์, 8.2+-1.2 เกรย์ และ 13.1+-1.9 เกรย์ตามสำดับ และในวิธี ใช้ภาพปริมาตรภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์มีค่า 5.0+-0.3 เกรย์, 5.9+-0.2 เกย์, 6.4+-0.1 เกรย์, 7.0+-0.0 เกรย์ และ 11.2+-0.6 เกรย์ ตามลำดับ เมื่อหาความสัมพันธ์ของปริมาณรังสีเฉลี่ยที่จุดอ้างอิงปากมดลูกกับปริมาตรความเสี่ยงสูงพบว่า ปริมาณรังสีเฉลี่ยที่จุดอ้างอิงปากมดลูกมีค่าใกล้เคียงกับ D98 ของปริมาตรดวามเสี่ยงสูงโดยมีร้อยละความแตกต่าง 0.6+-16.5 สำหรับการพิจารณาอวัยวะปกติข้างเคียง ค่าเฉลี่ย D0.1cc, D1cc และ D2cc ของกระเพาะปัสสาวะจากแผนรังสีรักษระยะใกล้วิธีใช้จุดจากภาพคลื่นเสียงความถี่สูงทางหน้าห้องมีค่า 8.2+-1.9 เกรย์, 6.9+-1.4 เกรย์ และ 5.9+-1.6 เกรย์ตามสำดับ และในวิธี ใช้ภาพปริมาตรจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์มีค่า 7.0+-1.5 เกรย์, 5.6+-1.1 เกรย์ และ 4.9+-0.9 เกรย์ ตามลำดับ ค่าเฉลี่ย D0.1cc, D1cc และ D2cc ของลำไส้ตรงจากแผนรังสีรักษาระยะใกวิธีใช้จุดจากภาพคลื่นเสียงความถี่สูงทางหน้าท้องมีค่า 5.0+-1.5 เกรย์, 3.9+-1.1 เกรย์ และ 3.4+-1.0 เกรย์ดามสำดับ และ ในวิธีใช้ภาพปริมาตรจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์มีคำ 4.3+-1.3 เกรย์, 3.3+-1.0 เกรย์ และ 2.9+-0.9 เกรย์ ดามลำดับ ค่าเฉลี่ย D0.1cc, D1cc และ D2cc ของลำไส้ส่วนชิกมอยด์จากแผนรังสึรักษาระยะใกล้วิธีใช้จุดจากภาพดลื่นเสียงความถี่สูงทางหน้าท้องมีค่า 5.6+-1.7 เกรย์, 4.4+-1.3 เกรย์ และ 39+-1.2 เกรย์ตามลำดับ และในวิธีใช้ภาพปริมาตรจากภาพอกซเรย์คอมพิวเตอร์มีค่า 4.7+-1.2 เกรย์, 3.7+-0.9 เกรย์ และ 3.3+-0.8 เกรย์ ตามลำดับสำหรับคำคัชนีความสม่ำเสมอและดัชนีความเข้ารูป พบว่าแผนรังสีรักษาระยะใกล้วิธีใช้จุดจากภาพคลื่นเสียงความถี่สูงทางหน้าห้องมีค่เฉลี่ยเท่ากับ 0.29+-0.10 และ 0.32+-0.06 ตามลำดับ วิธีใช้ปริมาตรจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์มีคำเฉสี่ยเท่ากับ 0.39+-0.06 และ 0.36+-0.06 ตามลำดับมีค่าแตกต่างกับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากการศึกษาการเปรียบเทียบ พบว่าทุกตัวแปรรังสีคณิตในแผนรังสีรักษาระยะใกล้วิธีในจุดจากภาพคลื่นเสียงความถี่สูงทางหน้ท้องมีคำสูงกว่าวิธี ใช้ปริมาตรจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.001) ทั้งในปริมาตรเป้าหมายและอวัยวะปกติข้งเดียง สำหรับปริมาณรังสืที่จุดอ้างอิงปากมดลูกในแผนรังสีรักษาระยะ ใกล้วิธี ใช้จุดจากภาพคลื่นเสียงความถี่สูงทางหน้าท้องมีค่าใกล้เคียงกับปริมาณรังสีที่ D98 ของปริมาตรเป้าหมายความเสี่ยงสูงen_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610731017 ชัยพร ปินตาคำ.pdf4.28 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.