Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78022
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเจนสมุทร แสงพันธ์-
dc.contributor.authorบรรเจิด สระปัญญาen_US
dc.date.accessioned2023-06-13T08:19:54Z-
dc.date.available2023-06-13T08:19:54Z-
dc.date.issued2021-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78022-
dc.description.abstractThis purposes of this research were to investigate The Standardized Mathematics Teaching Practices of Teachers in context of school using Lesson Study and Open Approach and to enhance the quality of mathematics class in the school using Lesson Study and Open Approach. The target groups in this research were the experts, respondents, teachers, lesson study team, and students in the three-school study case. All three schools using the Lesson Study and Open Approach were in Lampang Province. The researcher was treated as a co-learner and observer. Also, the researcher studied the standards of mathematics teachers, then analyzed the standards of mathematics teachers in Southeast Asia from SEAMEO Reginal Centre for Education in Science and Mathematics (SEAMEO RECSAM) along with interviewing the experts, synthesizing the questionnaires, and doing the first fieldwork. These aimed to synthesize The Standardized Mathematics Teaching Practices of the teachers and develop the handout and The Standardized Mathematics Teaching Practices of the teachers’ assessment form to figure out the enhancing level of the quality in mathematics class in the target schools using Lesson Study and Open Approach. The qualitative research was utilized in this study in order to collect the data received from the questionnaire, interview form, remote conference using Zoom Cloud Meeting, assessment form, sound recording, video recording, and photograph. Besides, the collected data were analyzed by using content analysis, protocol analysis, video recording analysis, photograph analysis, and analysis of interview, questionnaire, and assessment. The descriptive analysis was used to show the findings. The results revealed that 1) The Standardized Mathematics Teaching Practices of Teachers in context of school using Lesson Study and Open Approach indicated the standard dimensions relating to the four- standard dimensions of SEAMEO Reginal Centre for Education in Science and Mathematics (SEAMEO RECSAM). The data gaining from the fieldwork found that the schools using Lesson Study and Open Approach found emerging one more standard dimension which was the use of the classroom as a study area to develop teacher professional resulting in students’ development. 2) the consequence of the quality enhancement in mathematics class of the case study schools illustrated in the conclusion of lesson learned cooperating in each teaching practice. It was found that the teachers together with the lesson study team adjusted and developed each of the teaching practices continuously through using the assessment form as a tool supporting the revision of the lesson study. This result was related to the standards of mathematics teacher professional development presented in five standard dimensions as follows; 1) the Professional Knowledge and its Standards and Indicators of the teachers were from their studiousness and personal professional development in the cooperation with the lesson study team to study the preparation of learning management. It was based on the understanding of students’ learning styles and the nature of mathematics. 2) the Professional Teaching and Learning Process and its Standards and Indicators were from planning and designing of learning activities which the teachers and the lesson study team helped figure out the subject contents and design the situational problems together. The open approach with the mathematics textbook focusing on the problem-solving process was used to teach the students. 3) the Personal and Professional Attributes and its Standards and Indicators were from the ethical and professional teachers. Obviously, the teachers accepted the opinion from both lesson study team and students and gave the chances to the students to learn by themselves freely and equally under the teachers’ prepared communication. 4) Professional Communities and its Standards and Indicators were because by the teachers’ participation in the Professional Community and then they applied to use in their classes. Finally, 5) the Use of the Classroom as a Study Area to Develop Teacher Professional Resulting in Students’ Development found that the teachers used their classrooms as areas to study, do research, and collaborate causing originating the teacher professional development process emphasizing the importance of the classroom development in the real context.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการยกระดับคุณภาพชั้นเรียนen_US
dc.titleการยกระดับคุณภาพชั้นเรียนคณิตศาสตร์ด้วยแนวทางปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานในบริบทของโรงเรียนที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิดen_US
dc.title.alternativeEnhancing quality of mathematics classroom with standardized practices in context of school using lesson study and open approachen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashนวัตกรรมการศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการปฏิบัติการสอนคณิตศาสตร์ที่เป็นมาตรฐานของครูในบริบทโรงเรียนที่ใช้นวัดกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด และเพื่อยกระดับคุณภาพชั้นเรียนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด โดยมีกลุ่มเป้าหมายของการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ตอบแบบสอบถาม ครูผู้สอน ทีมการศึกยาชั้นเรียนและนักเรียนที่เป็นกรณีศึกขา จำนวน 3 โรงเรียน ซึ่งเป็นโรงเรียนที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและ ธีการแบบเปิดในจังห ดลำปาง ผู้วิจัยมีบทบาทเป็นผู้ร่วมเรียนรู้และผู้สังเกตการณ์ ผู้วิจัยได้ศึกษาวิธีการ ปฏิบัติการสอนคณิตศาสตร์ที่เป็นมาตรฐานของกรู ซึ่งผู้วิจัยได้วิเคราะห์มาตรฐานครูคณิตศาสตร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จาก SEAMEO Regional Centre for Education in Science and Mathematics (SEAMEO RECSAM) ร่วมกับการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ประมวลผลการสังเคราะห์แบบสอบถามและการลงพื้นที่วิจัยครั้งที่ 1 เพื่อสังเคราะห์เป็นวิธีการปฏิบัติการสอนคณิตศาสตร์ที่เป็นมาตรฐานของครู และสร้างคู่มือและแบบประเมินวิธีการปฏิบัติการสอนคณิตศาสตร์ ที่เป็นมาตรฐานของครู เพื่อนำไปใช้ในการศึกษาการหาตำแหน่งของกรยกระดับคุณภาพชั้นเรียนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด ที่เป็นโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย ในการวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การประชุมทางไกลออนไลน์ (Zoom Cloud Meeting) แบบประเมินการบันทึกเสียง วีดิทัศน์และภาพนิ่ง ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) การวิเคราะห์ โพร โทกอล การวิเคราะห์วีดิทัศน์ การวิเคราะห์ภาพนิ่ง การวิเคราะห์การตอบแบบสัมกาษณ์ แบบสอบถาม และแบบประเมิน และนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า (1) วิธีการปฏิบัติการสอนณิตศาสตร์ ที่เป็นมาตรฐานของครู (Standardized teaching practices) ในบริบทโรงเรียนที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด แสดงด้วยมิติของมาตรฐาน ซึ่งสอดคล้องกับ 4 มิติของมาตรฐานจาก SEAMEO Regional Centre for Education in Science and Mathematics (SEAMEO RECSAM) และข้อมูลจากกรลงพื้นที่ในการวิจัย ในการวิจัยนี้ค้นพบว่า โรงเรียนที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด มีมิติของมาตรฐานที่เพิ่มเติมขึ้นมาอีก 1 ด้าน คือ มิติของมาตรฐานที่ว่าด้วยการใช้ชั้นเรียนเป็นพื้นที่ศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูที่มาจากการพัฒนานักเรียน (2) ผลการยกระดับคุณภาพชั้นเรียนคณิตศาสตร์ของโรงเรียนที่เป็นกรณีศึกษา แสดงผ่านผลของการถอดบทเรียนสรุปการร่วมเรียนรู้ในการปฏิบัติการสอนแต่ละครั้ง พบว่า ครูผู้สอนและทีมการศึกษาชั้นเรียนมีการปรับและพัฒนาการปฏิบัติการสอนแต่ละครั้งอย่างค่อยเป็นค่อยไป ผ่านการใช้แบบประเมินเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการทบทวนการศึกษาชั้นเรียนร่วมกัน ผลของการยกระดับชั้นเรียนสอดคล้องกับรูปแบบมาตรฐานการพัฒนาวิชาชีพการสอนของครูคณิตศาสตร์ แสดงด้วยมิติของมาตรฐาน จำนวน 5 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 กวามรู้ระดับมืออาชีพของครู มาจากการใฝ่เรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพตนเอง จากการร่วมทีมการศึกษาชั้นเรียนเพื่อศึกษาในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน บนพื้นฐานของการมีความรู้ในวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน และการมีความเข้าใจในธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร์ ด้านที่ 2 กระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ระดับมืออาชีพ มาจากการวางแผ่นและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ครูและทีมการศึกษาชั้นเรียนมีการค้นหาเนื้อหาสาระและออกแบบสถานการณ์ปัญหาร่วมกัน มีการนำวิธีการแบบเปิดมาใช้กับนักเรียนโดยใช้หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ที่นั้นกระบวนการแก้ปัญหา ด้านที่ 3 คุณลักษณะส่วนบุกคลที่เป็นมืออาชีพ เกิดจากการที่ครูมีจริยธรรมและมีความเป็นมืออาชีพ จากการเป็นผู้รับฟังความคิดเห็นของทีมการศึกษาชั้นเรียน กรรับฟังความคิดเห็นของนักเรียน โดยให้โอกาสนักเรียนในการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเปิดกว้างและเท่าเทียม บนพื้นฐานของการสื่อสารที่มาจากการเตรียมการของครู ด้านที่ 4 ชุมชนการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ เกิดจากการที่ครูเข้าร่วมการฝึกอบรมและการเปีดชั้นเรียน เพื่อพัฒนาตนเองในชุมชนที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด และด้านที่ การใช้ชั้นเรียนเป็นพื้นที่ศึกยาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูที่มาจากการพัฒนานักเรียน พบว่า ครูมีการใช้ชั้นเรียนเป็นพื้นที่ในการวิจัยและเรียนรู้ในการทำงานร่วมกัน เพื่อพัฒนาวิชาชีพครูที่มีมาจากการพัฒนาชั้นเรียนในบริบทของความเป็นจริงควบคู่กันen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610231012 บรรเจิด สระปัญญา.pdf6.13 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.