Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78009
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฤมนัส คอวนิช-
dc.contributor.authorวรพรรณ เอื้อฐิติรัตน์en_US
dc.date.accessioned2023-06-12T09:57:04Z-
dc.date.available2023-06-12T09:57:04Z-
dc.date.issued2023-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78009-
dc.description.abstractFrailty is a geriatric condition that increases the risk of adverse health outcomes, including falls, hospitalization, disability, and mortality. Socio-demographic, psychological, general health, nutritional and oral health factors are associated with frailty. This study aimed to examine the prevalence of frailty as well as the association between oral health status, nutritional status and physical frailty in community-dwelling older adults (≥ 60 years) in Mae Sai District, Chiang Rai Province. All data of this study were collected by interviewed with structured questionnaire and clinical examination. Frailty was defined based on five components; unintentional weight loss, exhaustion, low level of physical activity, slow walking speed, and low grip strength. Oral health variables collected in the study included number of teeth, posterior occluding pairs, xerostomia and dysphagia. Baseline characteristics of study population included age, gender, education level, household income, number of medications used daily, underlying diseases and comorbidities, body mass index, smoking status, depressive symptoms and nutritional status. Data were analysed using binary logistic regression with significance level at 0.05. Of the 297 older adults samples, 97 were male and 200 were female. The mean age was 70.8 ± 8.05 years. The prevalence rates of frailty and pre-frailty were 12.1% and 49.2% respectively. Age (ORadj = 2.90, 95% CI = 1.68 - 5.02) and posterior occluding pairs (ORadj = 1.72, 95% CI = 1.01 - 2.90) were statistically significant associated with frailty and pre-frailty (p < 0.05). This study indicated that oral health conditions such as the fewer posterior occluding pairs associated with frailty among community-dwelling older adults, independent of socio-demographic and general health status.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleสภาวะสุขภาพช่องปากกับภาวะเปราะบางของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeOral health status and physical frailty in community-dwelling older adults in Mae Sai District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashปาก -- การดูแลและสุขวิทยา-
thailis.controlvocab.thashทันตกรรมผู้-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- โรค-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- พฤติกรรมสุขภาพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะเปราะบางมักพบในกลุ่มผู้สูงอายุทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการหกล้ม การเจ็บป่วย ทุพพลภาพ และการเสียชีวิต สัมพันธ์กับหลายปัจจัยได้แก่ ปัจจัยสังคมประชากร ปัจจัยด้านจิตวิทยา ปัจจัยสุขภาพ ภาวะโภชนาการ และสุขภาพช่องปาก การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของภาวะเปราะบางและความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะสุขภาพช่องปาก ภาวะโภชนาการ กับภาวะเปราะบางของผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในชุมชนอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และการตรวจทางคลินิกประกอบด้วย ภาวะเปราะบางประเมินจาก 5 อาการคือ น้ำหนักลดโดยไม่ตั้งใจ ความรู้สึกเหนื่อยหมดแรง กิจกรรมทางกายลดลง เดินช้าลง และแรงบีบมือลดลง สภาวะสุขภาพช่องปากประเมินจากจำนวนฟันที่เหลืออยู่ จำนวนฟันคู่สบ ภาวะปากแห้ง และภาวะกลืนลำบาก รวมทั้งข้อมูลอื่นๆได้แก่ อายุ เพศ ระดับการศึกษา รายได้ครัวเรือน จำนวนยา (ชนิด) ที่รับประทานต่อวัน โรคประจำตัว ดัชนีมวลกาย การสูบบุหรี่ ภาวะซึมเศร้า และภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการถดถอยโลจิสติกแบบไบนารี ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษา จากกลุ่มตัวอย่าง 297 คน เป็นเพศชาย 97 คน และเพศหญิง 200 คน อายุเฉลี่ย 70.8 ± 8.05 ปี ความชุกของภาวะเปราะบางและก่อนเปราะบางอยู่ที่ร้อยละ 12.1 และ 49.2 ตามลำดับ พบความสัมพันธ์ระหว่างอายุ (ORadj = 2.90, 95% CI = 1.68 - 5.02) และจำนวนฟันคู่สบ (ORadj = 1.72, 95% CI = 1.01 – 2.90) กับภาวะเปราะบางและก่อนเปราะบางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าสภาวะสุขภาพช่องปาก ได้แก่ จำนวนฟันคู่สบที่น้อย มีความสัมพันธ์กับภาวะเปราะบางในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชน โดยไม่ขึ้นกับสถานะทางสังคมและสุขภาพทั่วไปen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610931048 วรพรรณ เอื้อฐิติรัตน์.pdfmain article2.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.